Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2825
Title: | PURCHASING DECISIONS FOR ONLINE SHOPPING CLOTHES OF CONSUMERS IN 3 SOUTHERN BORDER PROVINCES : THE CONJOINT ANALYSIS การตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ : การวิเคราะห์ร่วม |
Authors: | NAPAT HAMA นภัทร ฮะมะ Nattaya Praditsuwan ณัฐยา ประดิษฐสุวรรณ Srinakharinwirot University Nattaya Praditsuwan ณัฐยา ประดิษฐสุวรรณ nattaya@swu.ac.th nattaya@swu.ac.th |
Keywords: | การวิเคราะห์ร่วม การตัดสินใจ เสื้อผ้า ออนไลน์ Conjoint Analysis Decision-making Clothes Online |
Issue Date: | 24 |
Publisher: | Srinakharinwirot University |
Abstract: | The objectives of this research are as follows: (1) to identify the major factors influencing purchasing decisions for online shopping for clothes among consumers in the three southern border provinces; (2) to investigate the importance attached to online shopping clothes amongconsumers in three southern border provinces; (3) to compare the purchasing decisions for online shopping clothes classified by personal characteristics of consumers. The sample were divided into two groups, as follows: (1) in-depth interviews conducted with nine consumers who live in three southern border provinces and three consumers per province; (2) the sample consisted of using a sample group of 200 consumers, aged 18-38 years. It was found that the finding that the four most important factors to determine the purchasing decisions for shopping online for clothes were as follows: review, price, promotion, and design, respectively. The results of the hypotheses testing were as follows: (1) consumers of different ages showed different degrees of purchasing decisions for shopping for clothes online among consumers in three southern border provinces. With respect to prices, reviews, and design, it was statistically significant at a level of 0.05; (2) consumers with different marital status showed different degree of purchasing decisions among consumers in three southern border provinces. with respect to price and at a statistically significant level of 0.05, (3) consumers with different occupations showed different degrees of purchasing decisions among consumers in three southern border provinces with respect to price and at a statistically significant level of 0.05. การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย คือ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อแสดงระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (3) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำแนกตามข้อมูลทางประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยสัมภาษณ์แบบเจาะลึก มีจำนวนทั้งสิ้น 9 คน จังหวัดละ 3 คน ที่อยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัด 3 คน (2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บแบบสอบถามมีจำนวนทั้งสิ้น 200 คน โดยกลุ่มตัวอย่างมีช่วงอายุระหว่าง 18 – 38 ปี ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ความสำคัญกับปัจจัย 4 ด้าน ในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ได้แก่ รีวิวสินค้า, ราคาของสินค้า, การส่งเสริมการขาย และการออกแบบ ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า (1) ผู้บริโภคที่มีอายุแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้านราคาของสินค้า ด้านรีวิวสินค้า และด้านการออกแบบ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผู้บริโภคที่มีสถานภาพแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้านราคาของสินค้า แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (3) ผู้บริโภคที่มีอาชีพแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของคนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้านราคาของสินค้าแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
URI: | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2825 |
Appears in Collections: | Faculty of Business administration for society |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs651160445.pdf | 4.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.