Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSIRIWIMOL TUEMSANGen
dc.contributorสิริวิมล ท้วมแสงth
dc.contributor.advisorChakapong Phatlakfaen
dc.contributor.advisorจักรพงษ์ แพทย์หลักฟ้าth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2019-12-17T01:47:14Z-
dc.date.available2019-12-17T01:47:14Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/359-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe aim of the present study was to compare the pretest and posttest results regarding local wisdom in Rajdhevee district among Grade Ten students and through the implementation of project-based learning. The participants consisted of random samples of Grade Ten students in the first semester of the 2018 academic year at Saint Dominic’s School. Additionally, the research instruments consisted of project-based learning lesson plans, the Modified Creative Thinking Test, Critical Thinking Test, Student Satisfaction Form, and the pretest and posttest results. The data were analyzed using mean, standard deviation, and dependent samples t-test. The results revealed that the learning skills of Grade Ten students using project-based learning in the posttests had a higher statistical significance than the pretest at a level of .05. Moreover, the average satisfaction levels Grade Ten students using project-based learning was 4.61, and the averages for satisfaction in each field were as follows: activity format, project-based learning acknowledgment, morality, ethical promotion, consciousness and awareness and appreciation were at 4.61, 4.51, 4.59 and 4.72, respectivelyen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อศึกษาเปรียบเทียบทักษะการเรียนรู้ก่อนและหลังเรียนในรายวิชาศิลปะ เรื่อง ผลผลิตแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตราชเทวี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการสอนแบบโครงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเซนต์ดอมินิก ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย แผนการสอนแบบโครงงาน แบบทดสอบความทักษะการเรียนรู้ก่อนและหลังเรียนด้านความคิดสร้างสรรค์และด้านการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, การทดสอบค่า t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. ทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการสอนแบบโครงงานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้กระบวนการสอนแบบโครงงานพบว่า โดยค่าเฉลี่ยโดยรวมคือ ร้อยละ 4.6 ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดและมีความพึงพอใจเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านรูปแบบการจัดกิจกรรม ด้านการได้รับความรู้จากกระบวนการสอนแบบโครงงาน ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ด้านจิตสำนึกความตระหนักและเห็นคุณค่า คิดเป็นร้อยละ 4.61 4.51 4.59 4.72 ตามลำดับซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์th
dc.subjectภูมิปัญญาท้องถิ่นth
dc.subjectการสอนแบบโครงงานth
dc.subjectความพึงพอใจในการใช้กระบวนการสอนแบบโครงงานth
dc.subjectCritical thinkingen
dc.subjectCreative thinkingen
dc.subjectLocal wisdom knowledgeen
dc.subjectProject-based learningen
dc.subjectProject-based learning satisfactionen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleCOMPARATIVE STUDY OF THE PRETEST AND POSTTEST RESULTS OF GRADE TEN STUDENTS USING PROJECT-BASED LEARNING ON LOCAL WISDOM IN THE RAJDHEVEE DISTRICTen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบทักษะการเรียนรู้ก่อนและหลังเรียนในรายวิชาศิลปะ เรื่องผลผลิตแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตราชเทวี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4  โดยใช้กระบวนการสอนแบบโครงงานth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130402.pdf3.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.