Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2635
Title: EFFECT ON EDUCATIONAL EQUITY OF GENIOUS CLASSROOM IN SECONDARY SCHOOL IN OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISION
ผลกระทบที่มีต่อความเสมอภาคทางการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีการจัดการศึกษาห้องเรียนพิเศษ
Authors: CHAYANIT PRADITSEREE
ชญานิศ ประดิษฐ์เสรี
Taweesil Koolnaphadol
ทวีศิลป์ กุลนภาดล
Srinakharinwirot University
Taweesil Koolnaphadol
ทวีศิลป์ กุลนภาดล
taweesil@swu.ac.th
taweesil@swu.ac.th
Keywords: ความเสมอภาค
ห้องเรียนพิเศษ
ผลตอบแทนที่คาดหวัง
กระบวนการขัดเกลาทางสังคม
Equality
Genius classroom
Expected return
Socialization
Issue Date:  21
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This research is analytical and qualitative, and studies the effects of a special classroom in terms of equality in secondary schools under the authority of the Basic Education Commission. The purposes of this research to study are as follows: (1) the effects on educational equity in a Genius classroom in secondary schools under the authority of the Basic Education Commission. The sample research included executives, teachers, students, and parents by using purposive sampling with a total of 12 people, using deep interviews. The results revealed the following: (1) the positive effects of the special classroom were as follows: (1) special classrooms focused on in-depth learning. The students in special classrooms were motivated by learning activities; (2) the students had a good level of English because they learned from native speakers or foreign teachers; (3) the negative effects to special classroom included the following: special classrooms focused on in-depth learning, which made them weak in Thai language, including using English as a first language at school and Thai language as a secondary language in their daily life. In terms of the Thai language, it was found that most students mainly learned in English. As a result, these students became weaker in the Thai language. Because of their behavior and environment, learning in English affected their Thai language skills. The students could not adapt to be in special classrooms because of changing from a normal to a special classroom as they had to socialize.  The effect on educational equity on the Genius classroom in secondary schools under the authority of the Basic Education Commission. It was found that the opportunity to study in a special classroom was preferable to higher than normal classes because they have teachers from outside with a high ability to educate and consult, allowing the students the opportunity to learn the language faster and inequality was not an issue due to the fact that student recruitment in special classrooms were voluntary.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยต้องการศึกษาผลกระทบที่มีต่อความเสมอภาคทางการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีการจัดการศึกษาห้องเรียนพิเศษ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการจัดการศึกษาห้องเรียนพิเศษที่มีต่อความเสมอภาคทางการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้ปกครองและนักเรียน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลกระทบเชิงบวกที่มีผลต่อการศึกษาห้องเรียนพิเศษ คือ 1.1 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมการเรียนรู้เชิงลึก นักเรียนที่เรียนในห้องเรียนพิเศษได้รับการกระตุ้นด้วยกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความ active ในการเรียนรู้ 1.2 ภาษาอังกฤษดี เพราะเรียนรู้จากเจ้าของภาษา นักเรียนเรียนกับครูต่างประเทศ ส่งผลให้การเรียนรู้ภาษาอังกฤษดี 2) ผลกระทบเชิงลบที่มีผลต่อการศึกษาห้องเรียนพิเศษ คือ 2.1) ส่งเสริมภาษาอังกฤษอย่างเข้ม ส่งผลให้ภาษาไทยอ่อน นักเรียนห้องเรียนพิเศษส่วนใหญ่ถูกปลูกฝังการเรียนรู้ด้วยภาษาอังกฤษเป็นหลัก ทำให้อ่อนในด้านการเรียนรู้ภาษาไทย รวมทั้งพฤติกรรม สภาพแวดล้อม และการเรียนรู้ด้วยภาษาอังกฤษ และส่งผลกระทบต่อด้านภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษารองจากการใช้ชีวิตประจำวัน 2.2) ส่งเสริมภาษาอังกฤษเข้ม แต่ผลสัมฤทธิ์ไม่เป็นตามที่คาดหวัง เนื่องจากห้องเรียนพิเศษมีการส่งเสริมภาษาอังกฤษอย่างเข้ม แต่ทักษะด้านการพูดและการเขียนยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2.3) นักเรียนไม่สามารถปรับตัวเข้ากับห้องเรียนพิเศษได้ เนื่องจากการปรับเปลี่ยนจากห้องเรียนปกติมาเรียนในห้องเรียนพิเศษ ซึ่งนักเรียนต้องปรับตัวเข้ากับสังคม 3) ผลกระทบที่ส่งผลต่อความเสมอภาคทางการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีการจัดการศึกษาห้องเรียนพิเศษ คือ 3.1) นักเรียนห้องเรียนพิเศษมีโอกาสในการเรียนสูงกว่าห้องเรียนปกติ เนื่องจากมีอาจารย์จากภายนอกสถานศึกษา ซึ่งมีความสามารถสูงมาให้ความรู้เป็นที่ปรึกษา ทำให้มีโอกาสในการพัฒนาภาษาได้เร็วหว่านักเรียนปกติ 3.2) ความเหลื่อมล้ำที่ไม่ได้ตระหนักถึง การรับสมัครนักเรียนห้องเรียนพิเศษด้วยความสมัครใจ
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2635
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130513.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.