Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2584
Title: THE SOCIAL FACTORS AFFECTING PHYSICAL WELLBEING OF ARMIES DEPLOYED AT ARMED FORCES DEVELOPMENT COMMAND
ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาวะทางกายของกำลังพล สังกัดกองบัญชาการ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
Authors: SUPAREEYA RANSIBRAHMANAKUL
สุพรียา รังสิพราหมณกุล
Cholvit Jearajit
ชลวิทย์ เจียรจิตต์
Srinakharinwirot University
Cholvit Jearajit
ชลวิทย์ เจียรจิตต์
cholvit@swu.ac.th
cholvit@swu.ac.th
Keywords: สุขภาวะทางกาย
ปัจจัยทางสังคม
กำลังพล
หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
Physical well-being
Social factors
Armed forces
Military Development Command
Issue Date:  15
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This research is a study of social factors affecting the physical well-being of troops under the Headquarters of the Military Development Command. The objectives are as follows: (1) to study the social factors affecting the physical well-being of personnel under the Military Development Command Headquarters; (2) a comparative study of social factors affecting the physical well-being of personnel under the Military Development Command. The study area is the Headquarters of the Military Development Command had a quantitative sample of 308 persons and 15 key qualitative contributors. The results of this research showed that the subjects had a strong level of physical well-being and social factors did not affect the physical well-being of the troops. However, when the qualitative data are considered, it helps to reflect that there is social solidarity, social cohesion, and the shared values of the troops under the Development Command Headquarters are the key conditions for the absence of differences in physical well-being. In addition, the organization has created an environment that promotes the development of personnel well-being within the unit.
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาวะทางกายของกำลังพล สังกัดกองบัญชาการ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาวะทางกายของกำลังพลสังกัดกองบัญชาการ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา และ 2) ศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาวะทางกายของกำลังพลสังกัดกองบัญชาการทหารพัฒนา โดยมีพื้นที่การศึกษาเป็นกองบัญชาการ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา มีกลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จำนวน 308 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับสุขภาวะทางกายภาพรวมอยู่ในระดับเข้มแข็ง ทำให้ปัจจัยทางสังคมไม่มีผลต่อสุขภาวะทางกายของกำลังพล อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาข้อมูลเชิงคุณภาพช่วยสะท้อนให้เห็นว่าการมีความเป็นปึกแผ่นทางสังคม การมีแรงยึดเหนี่ยวทางสังคม และค่านิยมร่วมกันของกำลังพล สังกัดกองบัญชาการ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา เป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้ไม่มีความแตกต่างในด้านสุขภาวะทางกาย ประกอบกับหน่วยงานมีการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมต่อการพัฒนาสุขภาวะของบุคลากรภายในหน่วยงานเป็นอย่างดี
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2584
Appears in Collections:Faculty of Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130584.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.