Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2458
Title: TECHNOLOGY PERCEPTION AND ONLINE CONSUMER BEHAVIOR TOWARD SERVICE INTENTION OF GSB METAVERSE  IN BANGKOK METROPOLITAN AREA
การรับรู้เทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่มีต่อความตั้งใจใช้บริการ GSB Metaverse ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
Authors: CHANAWEE BUATANG
ชนวีร์ บัวแตง
Supada Sirikutta
สุพาดา สิริกุตตา
Srinakharinwirot University
Supada Sirikutta
สุพาดา สิริกุตตา
supadas@swu.ac.th
supadas@swu.ac.th
Keywords: การรับรู้เทคโนโลยี
พฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์
ความตั้งใจใช้บริการ
GSB Metaverse
Technology perception
Online consumer behavior
Service intentions
GSB Metaverse
Issue Date:  19
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This research study aims to investigate technology perception and online consumer behavior toward the service intentions of the GSB Metaverse in the Bangkok metropolitan area. The sample group used in the research consisted of 400 consumers of the Government Savings Bank (GSB) Metaverse service, aged 20 years and over and who were interested in using the service. A questionnaire was used as the tool to collect the data. The research found that consumers had a high level of awareness of the technology used in the GSB Metaverse service, as well as online consumer behavior and intention to use the service. The results of hypothesis testing showed that perception of technology, the benefits of use, and ease of use all had a significant impact on intention to use the GSB Metaverse service at a statistical level of 0.01, with these variables having a 41.1% influence. Additionally, it was found that online consumer behavior regarding online perception, emotional perception, entertainment perception, continuity perception, and online attitudes significantly impacted the intention to use the GSB Metaverse service with a statistical level of 0.01. These variables having a 51.1% influence. The benefits of this research are that GSB can use the information as a guideline for developing, improving, reducing system problems, and increasing consumer interest by linking the obtained information with other bank products. This will stimulate the willingness to use more GSB Metaverse services to retain the existing customer base of the bank and increased opportunities to attract new customers.
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้เทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการ GSB Metaverse ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริโภคธนาคารออมสินอายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไปที่มีความสนใจใช้บริการ GSB Metaverse จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมีการรับรู้เทคโนโลยีต่อการใช้บริการ GSB Metaverse พฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ต่อการใช้บริการ GSB Metaverse และความตั้งใจใช้บริการ GSB Metaverse โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า การรับรู้เทคโนโลยี ด้านการรับรู้ประโยชน์ของการใช้งานและด้านการรับรู้ความง่ายของการใช้งานมีผลต่อความตั้งใจใช้บริการ GSB Metaverse อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยตัวแปรดังกล่าวมีอิทธิพลร้อยละ 41.1 นอกจากนี้พบว่า พฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ ด้านการรับรู้ทางออนไลน์ ด้านอารมณ์ทางออนไลน์ ด้านความบันเทิงทางออนไลน์ ด้านความต่อเนื่องและด้านทัศนคติออนไลน์มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการ GSB Metaverse อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยตัวแปรดังกล่าวมีอิทธิพลร้อยละ 51.1 ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัยนี้ ธนาคารออมสินสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุง ลดปัญหาของระบบ เพิ่มข้อมูลที่บริโภคสนใจโดยนำข้อมูลที่ได้ไปเชื่อมโยงกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของธนาคารเนื่องจากจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดความตั้งใจในการใช้บริการ GSB Metaverse ให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นเพื่อเป็นการรักษาฐานลูกค้าเก่าของธนาคารและเพิ่มโอกาสในการดึงดูดลูกค้ารายใหม่ในอนาคต
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2458
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs641130236.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.