Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2400
Title: SUSTAINABLE ENTREPRENEUR CURRICULUM DEVELOPMENT FOR UNDERGRADUATE BY USING THE CONCEPT OF DESIGN THINKING AND BEHAVIORAL ECONOMICS
การพัฒนาหลักสูตรผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา โดยใช้แนวคิดการคิดเชิงออกแบบและเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
Authors: TANATCHAMON METTARAYASIRI
ธณัชมณฑน์ เมตตารยศิริ
Waiyawut Yoonisil
วัยวุฑฒ์ อยู่ในศิล
Srinakharinwirot University
Waiyawut Yoonisil
วัยวุฑฒ์ อยู่ในศิล
waiyawut@swu.ac.th
waiyawut@swu.ac.th
Keywords: หลักสูตรผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืน
คุณลักษณะผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืน
การวัดคลื่นไฟฟ้าสมองความร่วมรู้สึกในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Sustainable Entrepreneurship Curriculum
Sustainable Entrepreneurship Characteristics
Stakeholder Empathy EEG Measurement
Issue Date:  19
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This research aims to study the characteristics of sustainable entrepreneurship and develop a sustainable entrepreneurship curriculum for undergraduate students based on using design thinking and behavioral economics. This research was conducted and developed under the concept of design thinking in three phases: (1) to study of sustainable entrepreneurial characteristics of undergraduate students; (2) to design a sustainable entrepreneurship curriculum of undergraduate students; and (3) to examine the effectiveness of the sustainable entrepreneurship curriculum of undergraduate students. A sample group was calculated by a statistical program (G*Power) and composed of 30 undergraduate students from public and private universities in the Bangkok metropolitan area. The results were as follows: (1) there were three characteristics of entrepreneurs for sustainability among undergraduate students. The first characteristic was empathy among stakeholders, the second was a visionary leader, and the third was creativity; (2) the learning units for the sustainable entrepreneurship program among undergraduate students included the following: Unit 1: Understanding base, Unit 2: Learning base, Unit 3: Future base, and Unit 4: Value base; (3) the results of the effectiveness of  curriculum was as follows: (1) the average scores of the EEG in terms of the stakeholder empathy  and increased significantly at of .05; (2) the average sentiment score of stakeholder empathy, visionary leadership, and learner creativity were higher than the pre-test scores; (3) the average behavioral scores of the stakeholder empathy,  visionary leadership, and the creativity of learners were higher than before taking the course with a statistical significance of .05; (4) the average scores of the stakeholder empathy attributes, visionary leadership, and the creativity of course learners had behavioral scores similar to entrepreneurship for sustainability.
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาคุณลักษณะผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนและพัฒนาหลักสูตรผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา โดยใช้แนวคิดการคิดเชิงออกแบบและเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ดำเนินการวิจัยและพัฒนาโดยใช้แนวคิดการคิดเชิงออกแบบ 3 ตอน (1) การศึกษาคุณลักษณะผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา (2) การออกแบบหลักสูตรผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา (3) การประเมินประสิทธิผลหลักสูตรผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา กลุ่มทดลองได้แก่ ผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรัฐบาลและเอกชน พื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน 30 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณลักษณะผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ได้แก่ ความร่วมรู้สึกในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ และความคิดสร้างสรรค์ (2) หลักสูตรผู้ประกอบการเพื่อความยั่งยืนสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา มีหน่วยการเรียนรู้ 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฐานแห่งความเข้าใจ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ฐานแห่งการเรียนรู้  หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ฐานแห่งอนาคต และหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฐานแห่งคุณค่า (3) การประเมินประสิทธิผลหลักสูตรพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยคลื่นไฟฟ้าสมองของคุณลักษณะความร่วมรู้สึกในผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสูงกว่าก่อนเรียนหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05  2) ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้สึกจากข้อความของคุณลักษณะความร่วมรู้สึกในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ และความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนหลักสูตร 3) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมของคุณลักษณะความร่วมรู้สึกในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ และความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2400
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611120028.pdf9.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.