Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2317
Title: CREATIVITY - BASE LEARNING MANAGEMENT FOR ENHANCING  CREATIVITY IN  DRAMATIC ARTS SUBJECTS OF PRATHOMSUKSA 5 STUDENTS 
การจัดการเรียนรู้แบบการสร้างสรรค์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ วิชานาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5  
Authors: WISAPORN LERKPATOMSAK
วิสาพร ฤกษ์ปฐมศักดิ์
Duangjai Seekheio
ดวงใจ สีเขียว
Srinakharinwirot University
Duangjai Seekheio
ดวงใจ สีเขียว
duangjais@swu.ac.th
duangjais@swu.ac.th
Keywords: ความคิดสร้างสรรค์
วิชานาฏศิลป์ไทย
Issue Date:  19
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purpose of this research was to compare creativity and to study the developmental levels of creativity in dancing arts of Prathomsuksa Five students before and after school by using creative learning management as a basis. The sample group in this research consisted of Prathomsuksa Five students. Srinakharinwirot University Prasarnmit Demonstration School (Elementary School), with one room consisting of 30 students, randomly selected by grouping and Cluster Random Sampling. The research tools consisted of the following: (1) a learning management plan for dancing arts subjects using a creative teaching method as a basis. The statistics used for data analysis were a t-test and relative development. The results showed that (1) comparative results on creativity in dancing among 30 Prathomsuksa Five students showed that the mean score after school was significantly higher than before school at a .05 level with a t-statistic value equal to 29.61 (Sig. = .000); and (2) the development of creativity in the dance subject of 30 Prathomsuksa Five students after learning with creative learning as a base. There were 16 people with very high development, representing 53.34%, 13 people with high development, representing 43.33%, and one person with middle development, representing 3.33%, respectively.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ และศึกษาพัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ วิชานาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  5  ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน โดยกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) จำนวน 1 ห้อง 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (ClusterRandom Samping) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชานาฏศิลป์ โดยใช้วิธีสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ สิถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าเฉลี่ย (  ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D ) และการวัดความเปลี่ยนแปลงสัมพัทธ์ (Relative Change Score) ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนเมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน โดยจัดกระบวนการ 5 ขั้นตอน จึงช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจจากสื่อวีดิทัศน์และคำถามซึ่งนำไปสู่การค้นคว้าหาความรู้อย่างอิสระ เพื่อไปสู่การสร้างสรรค์ผลงาน ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เรียนและผู้สอน รู้จักการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี สนุกสนานและพอใจกับการเรียน ส่งผลให้ความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น (2) ผลการศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน พบว่า ผู้เรียนมีระดับความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับสูงมาก
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2317
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130063.pdf3.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.