Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2135
Title: FACTORS INFLUENCING DONATION BEHAVIOR: A CASE STUDY IN BANGKOK 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริจาค: กรณีศึกษาจังหวัดกรุงเทพมหานคร
Authors: KASAMA MANMAI
กษมา หมั่นหมาย
Peera Tangtammaruk
พีระ ตั้งธรรมรักษ์
Srinakharinwirot University
Peera Tangtammaruk
พีระ ตั้งธรรมรักษ์
peerat@swu.ac.th
peerat@swu.ac.th
Keywords: บริจาค, เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม, สาธารณะ, แรงจูงใจ
Donations Behavioral Economics Public Motivation
Issue Date:  16
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: Donations are more important in Thai society, despite the fact that mainstream economics believes that all humans are primarily concerned with their own interests. However, in behavioral economics to say that humans know how to give is consistent with the concept of Altruism, which states that humans have compassion for others. There are two kinds of incentives when it comes to giving: (1) benefits to others (pure altruism) or giving with the hope of being beneficial to others; and (2) benefits to self (warm-glow). Furthermore, concerns about public image influenced donations. The researcher has adapted the original work on foreign donations that have been researched to analyze the case of Thailand in this research. This research studied the donation behavior of individuals to determine what form of motivation to donate. By administering the survey and conducting experiments on a sample of 200 people, divided into five experimental groups. Under various donation situations, a donation incentive model has been proposed. The donors were more likely to donate in public donation situations than in private donation situations and when there is no public requirement for donation. The research revealed that when both donation boxes were available, respondents were more likely to donate to the self-donation box. Moreover, regardless of age, condition, occupation, religion, or generosity scores, it plays a significant role in donation behavior.
สังคมไทยได้ให้ความสำคัญกับการบริจาคมากขึ้นแม้ว่า เศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะมองว่ามนุษย์ทุกคนคำนึงถึงผลประโยชน์ตัวเองเป็นหลัก แต่ในทางหลักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมีการศึกษาพบว่ามนุษย์ยังรู้จักการให้ทฤษฎีนี้สอดคล้องกับแนวคิดแอลทรูอิสซึม คือมนุษย์มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น โดยการบริจาคจะมีแรงจูงใจอยู่สองรูปแบบ คือ 1. การให้เพื่อหวังผลตอบแทนแก่ผู้อื่น และ 2.การให้ที่หวังผลตอบแทนเพื่อตนเอง นอกจากนี้แล้ว สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริจาคคือความกังวลเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของตนเองในที่สาธารณะ ผู้วิจัยได้ทำการดัดแปลงจากงานต้นฉบับที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการบริจาคของต่างประเทศมาเพื่อศึกษากรณีของประเทศไทย โดยศึกษาพฤติกรรมการบริจาคของบุคคลว่ามีรูปแบบแรงจูงใจในการบริจาคอย่างไร ด้วยการใช้แบบสอบถามและทำการทดลองจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 200 คน แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม มีการเสนอรูปแบบแรงจูงใจในการบริจาคภายใต้สถานการณ์ที่แตกต่างกันไป ผลการศึกษาพบว่า ภายใต้สถานการณ์การบริจาคที่เป็นสาธารณะจะทำให้ผู้บริจาคมีแนวโน้มในการบริจาคมากกว่าพื้นที่ส่วนตัว และเมื่อไม่มีเงื่อนไขความเป็นสาธารณะแล้วการเสนอกล่องรับบริจาคพร้อมกันทั้งสองรูปแบบ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างจะเลือกบริจาคให้กับกล่องรับบริจาครูปแบบเพื่อตนเองมากกว่า และสำหรับปัจจัยด้าน อายุ สถานภาพ อาชีพ ศาสนา และคะแนนความมีเมตตากรุณา เป็นปัจจัยที่มีนัยสําคัญต่อพฤติกรรมการบริจาค
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2135
Appears in Collections:Faculty of Economics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130542.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.