Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2093
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNOPPAWAN NURATen
dc.contributorนพวรรณ นุรัตน์th
dc.contributor.advisorSupada Sirikuttaen
dc.contributor.advisorสุพาดา สิริกุตตาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-03-15T07:24:52Z-
dc.date.available2023-03-15T07:24:52Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued16/12/2022
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2093-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study decisions on the consumption of plant-based meat products in the Bangkok metropolitan area. The sample group in this study consisted of 400 consumers who bought and ate plant-based meat products that imitated meat or substitute meat-based diets, with consumers aged between 20 to 54 years. A questionnaire was used as a tool for data collection. The results indicated that the consumers had opinions of attitude at a very good level when considering each aspect. It was found that there were very good opinions in all aspects, including emotion, cognition and behavior. Consumers had opinions of innovation acceptance at a good level when considering each aspect and it was found that there were good opinions in all aspects, including relative advantage, compatibility, simplicity and observability. Consumers had opinions of decision to consume plant-based meat products at a high level. The results of hypothesis testing showed that consumers of different gender, education and average monthly income made decisions to consume plant-based meat products with a statistical significance of 0.05. These attitudes included emotion, cognition and behavior toward decisions to consume plant-based meat products at 14.7% and innovation acceptance, including relative advantage, compatibility, simplicity and observability toward decisions to consume plant-based meat products at 5.3%. The results can be a guide for analysis, to formulate policies and create marketing plans to meet the needs of consumers and to be developed and deployed to help increase opportunities and expand business.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา การตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือผู้บริโภคที่เคยเลือกซื้อหรือรับประทานผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชที่ทำเลียนแบบเนื้อสัตว์หรือเพื่อทดแทนการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์ มีช่วงอายุ 20-54 ปี จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่าผู้บริโภคให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชโดยรวมอยู่ในระดับดีมากและด้านความรู้สึก ด้านความเข้าใจ ด้านพฤติกรรมอยู่ในระดับดีมากทุกด้าน ผู้บริโภคให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับนวัตกรรมของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชโดยรวมอยู่ในระดับดี และด้านคุณลักษณะในประโยชน์ในเชิงเปรียบเทียบ ด้านคุณลักษณะความเข้ากันได้ ด้านคุณลักษณะไม่มีความสลับซับซ้อน ด้านคุณลักษณะความสามารถมองเห็นหรือเข้าใจได้ง่ายอยู่ในระดับดีทุกด้าน และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชโดยรวมอยู่ในระดับการตัดสินใจมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ผู้บริโภคที่มีลักษณะประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนองค์ประกอบของทัศนคติ ด้านความรู้สึก ด้านความเข้าใจ และด้านพฤติกรรม มีผลต่อการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชและสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 14.7 นอกจากนี้การยอมรับนวัตกรรม ด้านคุณลักษณะในประโยชน์ในเชิงเปรียบเทียบ ด้านคุณลักษณะความเข้ากันได้ ด้านคุณลักษณะไม่มีความสลับซับซ้อน และด้านคุณลักษณะความสามารถมองเห็นหรือเข้าใจได้ง่าย มีผลต่อการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชและสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 5.3 ผลการวิจัยสามารถเป็นแนวทางในการการวิเคราะห์ วางนโยบายและแผนการตลาดเพื่อให้ตอบสนองกับความต้องการของผู้บริโภคได้ นำไปพัฒนาและปรับใช้ เพื่อช่วยเพิ่มโอกาสและต่อยอดทางธุรกิจได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชth
dc.subjectองค์ประกอบของทัศนคติth
dc.subjectการยอมรับนวัตกรรมth
dc.subjectการตัดสินใจเลือกบริโภคth
dc.subjectPlant-based meat productsen
dc.subjectAttitudesen
dc.subjectInnovation acceptanceen
dc.subjectConsumption decisionsen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationManufacturingen
dc.subject.classificationMarketing and advertisingen
dc.titleDECISIONS TO CONSUME PLANT-BASED MEAT PRODUCTS IN THE BANGKOK METROPOLITAN AREA en
dc.titleการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อจากพืชของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSupada Sirikuttaen
dc.contributor.coadvisorสุพาดา สิริกุตตาth
dc.contributor.emailadvisorsupadas@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsupadas@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130160.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.