Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2060
Title: DEVELOPMENT OF STRATEGIC MANAGEMENT OF NON-TRADITIONAL THREATS : STUDY OF SECONDARY SCHOOLS IN EASTERN ECONOMIC CORRIDOR (EEC)
การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
Authors: SURASIT KIATTITANAKUL
สุรศิษฎ์ เกียรติธนะกูล
Somboon Burasirirak
สมบูรณ์ บูรศิริรักษ์
Srinakharinwirot University
Somboon Burasirirak
สมบูรณ์ บูรศิริรักษ์
somboonb@swu.ac.th
somboonb@swu.ac.th
Keywords: การพัฒนากลยุทธ์
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่
กลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่
โรงเรียนมัธยมศึกษา
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
Development of Strategic
Non-Traditional Threats
Strategic Management of Non-Traditional Threats
Secondary School
Eastern Economic Corridor (EEC)
Issue Date:  16
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The aims of this research are as follows: (1) to study non-traditional threats to secondary schools in the Eastern Economic Corridor; (2) to develop strategic management of non-traditional threats of secondary schools in the Eastern Economic Corridor; (3) to assess strategic management of non-traditional threats to secondary schools in the Eastern Economic Corridor; (4) to perform a preliminary test of strategic management in non-traditional threats of secondary schools in the Eastern Economic Corridor. The research methodology included relevant documents, concepts, theories, and research, as well as in-depth interviews with educational administrators, experts in public health, drugs, and technology, a total of eight people, in terms of strategic management of non-traditional threats to secondary schools in Eastern Economic Corridor. The TOWS Matrix was used as a tool for strategic planning which was examined by a focus group discussion consisting of 10 experts. The strategic management in non-traditional threats of secondary schools in Eastern Economic Corridor was assessed by 19 experts. The statistics in the research were the frequency of the suitability assessment results and the feasibility of the strategy. Differences of frequency were tested using Chi-square. The findings from the study revealed the following: (1) strategic management of non-traditional threats to secondary schools in the Eastern Economic Corridor consisted of five major strategies, 10 minor strategies, and 72 methods; (2) the overall suitability assessment result was statistically significant at 0.01; (3) the overall feasibility of strategic development was statistically significant at 0.01. The result of the pretest of the strategies was complete and could be applied to increase efficiency in the strategic management of non-traditional threats to secondary schools in Eastern Economic Corridor.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3) เพื่อประเมินกลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 4) เพื่อทดลองใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีวิธีการดำเนินการวิจัย 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 การศึกษาภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยการศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุข ด้านยาเสพติด และด้านเทคโนโลยีจำนวน 8 คน เกี่ยวกับการบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ตอนที่ 2 การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยจัดทำ TOWS Matrix เพื่อร่างกลยุทธ์ และตรวจสอบโดยการประชุมกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 คน ตอนที่ 3 การประเมินกลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 19 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ การหาค่าความถี่ของผลการประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ และทดสอบความแตกต่างของค่าความถี่ด้วยการทดสอบค่าไคสแควร์ และตอนที่ 4 การทดลองใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ผลการวิจัยพบว่า 1. กลยุทธ์การบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์หลัก 10 กลยุทธ์รอง และ 72 วิธีดำเนินการ 2. ผลการประเมินกลยุทธ์ในภาพรวมมีความเหมาะสมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีความเป็นไปได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการทดลองใช้กลยุทธ์พบว่ามีความสมบูรณ์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2060
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611150085.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.