Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1876
Title: THE DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL MANAGEMENT MODELIN THE DIGITAL ERA FOR SECONDARY SCHOOL IN THE CENTRAL REGION UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION
การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Authors: TANYAPORN NAJAMPA
ธัญญาภรณ์ นาจำปา
Apitee Songbundit rtn.
อภิธีร์ ทรงบัณฑิตย์
Srinakharinwirot University
Apitee Songbundit rtn.
อภิธีร์ ทรงบัณฑิตย์
apitee@swu.ac.th
apitee@swu.ac.th
Keywords: การพัฒนา
รูปแบบ
ยุคดิจิทัล
DEVELOPMENT
MODEL
THE DIGITAL ERA
Issue Date:  8
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The objectives of this research are as follows: 1) to study the factors of school management in the digital era 2) to examine the model of educational institution administration in the digital era and 3) to evaluate the model of educational institution administration in the digital era. The data was collected from a sample group of 381 school administrators and teachers of secondary schools in the central region under the Office of the Basic Education Commission by multi-stage random sampling and was analyzed  by statistics software. The research instrument was a 5-level questionnaire with a IOC .60 -1.00 and a reliability value of 0.99. The results showed that 1. The factor of educational institution administration in the digital era for secondary schools in the central region Under the Office of the Basic Education Commission consists of 6 aspects: 1) director 2) teacher 3) learner 4) learning 5) technology and 6)  process. 2. The model of Educational institution administration model in the digital era for secondary schools in the central region Under the Office of the Basic Education Commission shows congruence with empirical data consists of 6 main components and 29 subcomponents with Chi-square=278.26, df = 269, GFI =0.95, AGFI = 0.92, RMSEA = 0.010, RMR=0.032. 3. The model of Educational institutions administration model in the digital era for secondary schools in the central region Under the Office of the Basic Education Commission is accurate, appropriate, useful and feasible.    
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล 2) ตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ที่สร้างขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์และ 3) เพื่อประเมินรูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู โรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 381 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ  มีค่าความเที่ยงตรงระหว่าง .60 -1.00 และค่าความเชื่อมั่น 0.99 ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผู้บริหารสถานศึกษา 2) ด้านครูผู้สอน 3) ด้านผู้เรียน 4) ด้านการเรียนรู้ 5) ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ 6) ด้านกระบวนการบริหารสถานศึกษา 2.รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก และ 29 องค์ประกอบย่อย (Chi-square=278.26, df = 269, GFI =0.95, AGFI = 0.92, RMSEA = 0.010, RMR=0.032) 3.รูปแบบสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความถูกต้อง มีความเหมาะสม มีประโยชน์ และมีความเป็นไปได้
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1876
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601150038.pdf7.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.