Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1804
Title: BRAND EQUITY AND MOTIVATION AFFECTING CONSUMERS' FEMALE PURCHASING BEHAVIOR ON REVLON IN BANGKOK METROPOLITAN AREA
คุณค่าตราสินค้าและแรงจูงใจที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางเรฟลอนของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
Authors: ARADA TUANCHAEM
อารดา ต่วนชะเอม
Nak Gulid
ณักษ์ กุลิสร์
Srinakharinwirot University
Nak Gulid
ณักษ์ กุลิสร์
aphirak@swu.ac.th
aphirak@swu.ac.th
Keywords: คุณค่าตราสินค้า
แรงจูงใจ
พฤติกรรมการซื้อ
เครื่องสำอางเรฟลอน
Brand equity
Motivation
Purchasing behavior
Revlon
Issue Date:  8
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purpose of this study aims to study the brand equity and motivation affecting the purchasing behavior of female Revlon consumers in the Bangkok metropolitan area. The samples in the research were female consumers who purchased or used to purchase Revlon cosmetics in the Bangkok metropolitan area with 400 samples, who were selected using a specific random method and quota sampling. The tool used to collect the data was a questionnaire. The statistics used to test the hypothesis included One-way ANOVA and Multiple regression analysis. The results showed that most consumers were female, aged 20 to 29 years old, and graduated with a Bachelor's degree. Most of them are private company employees and earned an average monthly income of 10,001 to 20,000 Baht. The level of opinion about brand equity, including brand awareness, perceived quality, brand associations, and brand loyalty, were at the highest level. Moreover, the level of opinion about motivation included rational and emotional motivation and found that rational and emotional motivation were at the highest level. In terms of the behavior of purchasing female consumer cosmetics in the Bangkok metropolitan area and found that customers made three purchases per month and paid with approximately 570 Baht a time. The method of purchase was mainly through ordering online through the e-commerce website, they made independent decisions and the main reason for purchasing decisions was the quality of product. The hypothesis testing results showed that consumers of different ages, marital status, education levels, occupations and average monthly incomes had different purchasing behaviors in terms of purchasing frequency and purchase expenditure at a statistically significant level of 0.01. The brand equity of Revlon and the brand awareness affecting Revlon cosmetic purchasing behavior in terms of purchasing frequency and purchase budget, at 4.8% and 5.3%, respectively and with a statistical significance of 0.01. Moreover, emotional motivation affected Revlon cosmetics purchasing behavior in terms of purchasing frequency and budget at 4.7% and 2.1%, respectively and at astatistical significance of 0.01.
งานวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาคุณค่าตราสินค้าและแรงจูงใจที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางเรฟลอนของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริโภคเพศหญิงที่ซื้อหรือเคยซื้อเครื่องสำอางเรฟลอนสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มแบบเจาะจง และสุ่มตัวอย่างโดยกำหนดโควต้า เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิเคราะห์พบว่า ผู้บริโภคเพศหญิง ส่วนใหญ่มีอายุ 20 - 29 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 - 20,000 บาท ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ คุณค่าตราสินค้า ซึ่งประกอบด้วย ด้านการรู้จักตราสินค้า ด้านคุณภาพที่รับรู้ตราสินค้า ด้านความสัมพันธ์กับตราสินค้า ด้านความภักดีต่อตราสินค้า และโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ แรงจูงใจซึ่งประกอบด้วย ด้านเหตุ และด้านอารมณ์ พบว่า แรงจูงใจด้านเหตุและด้านอารมณ์ อยู่ในระดับมากที่สุด พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีค่าเฉลี่ยมีความถี่ในการซื้อ 3 ครั้งต่อเดือน ค่าใช้จ่ายในการซื้อแต่ละครั้ง 570 บาท มีช่องทางในการซื้อ คือ สั่งออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ E-commerce การตัดสินใจซื้อสำหรับตัวเอง ผู้ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ คือ ตัวเอง และ เหตุผลสำคัญในการตัดสินใจซื้อ คือ คุณภาพ ผลการทดสอบสมมติฐานพบกว่าผู้บริโภคที่มี อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางเรฟลอนด้านความถี่ในการซื้อ และงบประมาณในการซื้อ แตกต่างกันอย่างระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 คุณค่าตราสินค้าเรฟลอน ด้านการรู้จักตราสินค้า มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางเรฟลอนด้านความถี่ในการซื้อ และงบประมาณในการซื้อ ร้อยละ 4.8 และ 5.3 ตามลำดับ อย่างระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01  และแรงจูงใจด้านอารมณ์ มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางเรฟลอนด้านความถี่ในการซื้อ และงบประมาณในการซื้อ ร้อยละ 4.7 และ 2.1 ตามลำดับ อย่างระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1804
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130282.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.