Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1783
Title: THE CAUSAL RELATIONSHIP OF ORGANIZATIONAL CITIZENSHIP BEHAVIORSOF EDUCATIONAL PERSONNEL USING ORGANIZATIONAL COMMITMENT AS A MEDIATOR
โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรทางการศึกษา โดยมีความผูกพันต่อองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่าน
Authors: ARISA PESLAPUNT
อริสา เปสลาพันธ์
Rungrudee Klaharn
รุ่งฤดี กล้าหาญ
Srinakharinwirot University
Rungrudee Klaharn
รุ่งฤดี กล้าหาญ
rungrudee@swu.ac.th
rungrudee@swu.ac.th
Keywords: ลักษณะบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ
การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ
ความผูกพันต่อองค์การ
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
Big Five Personality
Perception of Organizational Justice
Organization Commitment
Organization Citizenship Behaviors
Issue Date:  8
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The objective of this research is to analyze the causal relationship of the Big Five Personality type and the perception of organizational justice that influenced the Organizational Citizenship Behavior of educational personnel with an organizational commitment as a mediator variable.  A total of 188 people were sampled using purposive sampling. The instrument used for collecting data was a questionnaire. The content validity was 0.67-1.00 and the reliability was .82. The data were analyzed using Pearson product-moment correlation and Path Analysis. The research results found that affective commitment had a direct effect on good organizational membership behavior. The following variables were as follows: (1) openness to experience; (2) conscientiousness, agreeableness, and extraversion; and (3) the perception of organizational justice directly and indirectly influenced affective commitment in terms of the organization of citizenship behaviors with a statistical significance of .05
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของลักษณะบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การที่มีอิทธิผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรทางการศึกษา โดยมีความผูกพันต่อองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 188 คน ใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.82 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson product-moment correlation) และการวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Path Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ความผูกพันต่อองค์การด้านจิตใจมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การ และบุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) แบบมีจิตสำนึก (Conscientiousness) แบบประนีประนอม (Agreeable) และแบบแสดงตัว (Extraversion) และการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยอ้อมผ่านความผูกพันต่อองค์การด้านจิตใจต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1783
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130258.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.