Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1763
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | JESADA NETAWONG | en |
dc.contributor | เจษฎา เนตะวงศ์ | th |
dc.contributor.advisor | Pharichai Daoudom | en |
dc.contributor.advisor | ปริชัย ดาวอุดม | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-02-08T06:22:35Z | - |
dc.date.available | 2023-02-08T06:22:35Z | - |
dc.date.created | 2022 | |
dc.date.issued | 8/8/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1763 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are to study the process of constructing Karen ethnicity in Thailand under the dynamics of modernization and analyzing the practice and negotiation of the meaning of the Karen ethnic community, according to Bourdier’s concept of field, capital and habitus, which was used as a framework for understanding the phenomenon. The study relied on critical ethnography, as a methodology to deepen understanding of the phenomenon and revealing the structure and power behind it, as well as offering more diverse ethnic development options. The results showed that in the pre-modern era, the field of Karen ethnicity had a structure that consisted of rules, conventions, practices, and capital that were related to nature and the supernatural sanctity with spiritual leaders and the holders of the highest cultural capital in management directing the practices of the Karen people. However, the process of modernization has spread into the Karen ethnic community and appeared in more diverse ways in the field that come with cultural capital, such as a new body of knowledge that has been brought into the ethnic Karen field. As a result, the structure of the field had to be modified, both in terms of rules, schemes, guidelines, and available capital. Even when entering a modern era where respect for cultural rights and human values and dignity is respected, ethnicity has been addressed in a variety of ways. Therefore, various Karen ethnic communities have a practice and negotiate the meaning of Karen ethnicity by choosing the distinctiveness of the community in terms of preserving cultural ways, resource management and ecotourism management. They demonstrated strategies for accumulating, acquiring, and deploying capital within the field to gain recognition and coexistence along with modernization with dignity and value. | en |
dc.description.abstract | ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างความเป็นชาติพันธุ์กะเหรี่ยงในประทศไทยภายใต้การพัฒนาไปสู่ความทันสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัต และวิเคราะห์ให้เห็นปฏิบัติการและการต่อรองความหมายของชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงในฐานะสนามของความเป็นชาติพันธุ์ที่ถูกประกอบสร้างขึ้น โดยใช้แนวคิดสนาม ทุน และฮาบิทัสของบูร์ดิเยอร์มาใช้เป็นกรอบในการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ โดยเลือกใช้วิธีวิทยาแบบชาติพันธุ์วรรณาแนววิพากษ์ เป็นวิธีวิทยาในการศึกษาและทำความเข้าใจปรากฏการณ์และเผยให้เห็นโครงสร้างและพลังที่อยู่เบื้องหลัง ตลอดจนการเสนอทางเลือกสำหรับการพัฒนาด้านชาติพันธุ์ที่หลากหลายมากขึ้น ผลการวิจัยพบว่า ในยุคก่อนทันสมัยสนามของความเป็นชาติพันธุ์กะเหรี่ยงมีโครงสร้างที่ประกอบด้วย กฎเกณฑ์ กติกา ระเบียบแบบแผน แนวปฏิบัติ ทุน ที่สัมพันธ์อยู่กับธรรมชาติและสิ่งศักดิ์สิทธิเหนือธรรมชาติ โดยมีผู้นำทางจิตวิญญาณเป็นผู้ถือครองทุนวัฒนธรรมสูงสุดในการควบคุมจัดการ กำกับวิถีปฏิบัติของชาวกะเหรี่ยง อย่างไรก็ตามเมื่อกระบวนการพัฒนาไปสู่ความทันสมัยได้แพร่กระจายเข้าสู่ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ได้ปรากฏผู้เล่นภายในสนามที่หลากหลายมากขึ้น ที่มาพร้อมทุนทางวัฒนธรรมที่เป็นองค์ความรู้แบบใหม่ที่ถูกนำเข้ามาภายในสนามของความเป็นชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ส่งผลให้โครงสร้างของสนามต้องถูกปรับเปลี่ยน ทั้งในด้านกฎกติกา ระเบียบแบบแผน แนวปฏิบัติ ตลอดจนทุนที่มี กระทั่งเมื่อเข้าสู่ยุคทันสมัยที่ให้ความสำคัญกับการเคารพในสิทธิทางวัฒนธรรมและเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นชาติพันธุ์ได้ถูกให้ความสำคัญอย่างหลากหลาย ชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงต่างก็มีปฏิบัติการที่แสดงให้เห็นการปรับตัว และต่อรองความหมายของความเป็นชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโดยเลือกใช้ความโดดเด่นของชุมชนทั้งในด้านการอนุรักษ์วิถีวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรธรรมและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แสดงให้เห็นกลยุทธ์ในการสะสม แสวงหา และปรับใช้ทุนภายในสนามเพื่อให้ได้รับการยอมรับและดำรงอยู่ร่วมกับการพัฒนาไปสู่ความทันสมัยได้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | กะเหรี่ยง | th |
dc.subject | สนาม | th |
dc.subject | ทุน | th |
dc.subject | การพัฒนา | th |
dc.subject | Karen | en |
dc.subject | Field | en |
dc.subject | Capital | en |
dc.subject | Development | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Sociology and cultural studies | en |
dc.title | THE DYNAMIC CONSTRUCTION OF KAREN ETHNICITYIN THAILAND DEBATING THROUGH BOURDIEU' S FIELD | en |
dc.title | พลวัตการสร้างความเป็นชาติพันธุ์กะเหรี่ยงในประเทศไทยศึกษาผ่านแนวคิดฟิลด์ของบูดิเยอร์ | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Pharichai Daoudom | en |
dc.contributor.coadvisor | ปริชัย ดาวอุดม | th |
dc.contributor.emailadvisor | pharichai@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | pharichai@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | DOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Graduate School |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs581120023.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.