Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1719
Title: | MANAGEMENT OF PUBLIC RELATIONS TO CREATE THE IMAGEOF THE ROYAL THAI POLICE การบริหารงานด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กรของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
Authors: | JIDAPA PHAOHARUHANSA จิดาภา เผ่าหฤหรรษ์ Preechaya Nakfon ปรีชญาณ์ นักฟ้อน Srinakharinwirot University Preechaya Nakfon ปรีชญาณ์ นักฟ้อน preechayan@swu.ac.th preechayan@swu.ac.th |
Keywords: | การบริหารงาน การประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์องค์กร Management Public relations Organizational image |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | Srinakharinwirot University |
Abstract: | The objectives of this research are as follows: (1) to study the organizational structures of public relations in order to create a positive image of the Royal Thai Police; (2) to analyze the suitability of public relations with the aim of building the organizational image of the Royal Thai Police. This research was qualitative and used personal interviews and document analysis as a data collection method. According to POLC theory, the researcher discovered that there were two sections that were responsible for public relations as well as to create the organizational image. These sections included the Information Division and the Broadcasting Team of the Royal Thai Police. Nowadays, the organization does not have any specific operational plans regarding public relations. There will be some commands from high ranking supervisors in only two cases, the first for an urgent matter in which the supervisor directly managed the related subordinates and actions were immediately performed. Furthermore, there are meetings to discuss specific strategies and channels to proceed with public relations. However, the working procedures and assessments were not identified by any of the previously mentioned criteria. The vague operational plans of the Royal Thai Police raise awareness that might impact organizational image. Furthermore, when taking a closer look in terms of human resources management (4M2T), the organization is faced with insufficient manpower, budgeting and the absence of high technology equipment. These are significant limitations of human resources management and the development of the organization. Regarding the theory of image creation (IMAGE), there are several factors which should not be overlooked by the organization. The key factors emphasized planning, especially the organization, which must obtain precise operational plans with clear working procedures to reach organizational goals comprised of high technology equipment and the appropriate channels to reach the target in a straightforward way. The factor of reliability building was also mentioned along with work ethics and training programs to enhance the knowledge of the staff and assist in successfully creating a positive image for the Royal Thai Police. การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการบริหารงานด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กร ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (2) เพื่อวิเคราะห์ความเหมาะสมของการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กร ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และวิเคราะห์เอกสาร จากการศึกษาพบว่า ตามหลักทฤษฎีการบริหาร (POLC) มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กร 2 หน่วย คือ กองสารนิเทศ (สท.) และ ทีมโฆษกประจำสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แต่ในปัจจุบันสำนักงานตำรวจแห่งชาติยังไม่มีแผนการดำเนินงานเฉพาะด้าน จะมีเพียงการสั่งการของผู้บังคับบัญชาระดับสูง ให้ดำเนินการ ใน 2 กรณี คือ กรณีเร่งด่วนจะมีการสั่งการโดยตรงกับผู้เกี่ยวข้อง และให้นำไปดำเนินการทันที และกรณีทั่วไป จะมีการประชุมเพื่อหารือถึงแนวทางในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งกำหนดกลยุทธ์และช่องทางการสื่อสารเพื่อนำไปประชาสัมพันธ์ต่อ ทั้งนี้ในขั้นตอนการทำงานทั้งหมดนั้นยังไม่มีการกำหนดวิธีการวัดและประเมินผลแต่อย่างใด ซึ่งการที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติไม่มีการระบุแผนงานและวิธีการที่ชัดเจน ถือเป็นเรื่องที่น่ากังวล เพราะเมื่อเกิดปัญหา หรือวิกฤตที่อาจส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ จะทำให้เป็นการยากในการดำเนินงาน และในหลักการบริหารจัดการทรัพยากร (4M2T) จะพบว่า องค์กรประสบปัญหาในด้านกำลังพล ด้านงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ดังนั้น สิ่งนี้จึงถือเป็นข้อจำกัดในด้านการบริหารทรัพยากรขององค์กร และ ทฤษฎีการสร้างภาพลักษณ์ (IMAGE) มีสิ่งที่องค์กรควรทบทวนถึงวิธีการดำเนินงาน อันได้แก่ ด้านการบริหารจัดการแผนงาน ควรมีความชัดเจนในด้านแผนงาน วิธีการที่จะทำให้องค์มุ่งไปสู่เป้าหมาย ควรมีความสมัยและมีวิธีการสื่อสารให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย รวมไปถึงวิธีการสร้างให้ประชาชนเห็นว่าเราเป็นคนดี มีความน่าเชื่อถือนั้นยังขาดการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบ และ ในด้านบุคลากรควรมีการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ |
URI: | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1719 |
Appears in Collections: | Faculty of Social Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs612110001.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.