Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1564
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | CHITHATHAI WONGWITDECHA | en |
dc.contributor | ชิดหทัย ว่องวิทย์เดชา | th |
dc.contributor.advisor | CHINALAI PIYACHON | en |
dc.contributor.advisor | ชินาลัย ปิยะชน | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University. Faculty of Dentistry | en |
dc.date.accessioned | 2022-06-07T07:35:29Z | - |
dc.date.available | 2022-06-07T07:35:29Z | - |
dc.date.issued | 16/8/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1564 | - |
dc.description | MASTER OF SCIENCE (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objective of this study is to evaluate the effects of irrigation protocols to transforming growth factor-beta1 (TGF-β1) released from root canal dentin. The roots of 21 single canal mandibular premolars from 18- to 25-year-old patients were prepared to stimulate immature roots. The roots were divided into four irrigation protocol groups with five samples in each group and one negative control, as follows: (1) 17% EDTA (20ml, 5 mins) followed by NSS (5ml, 1min); (2) 17% EDTA with PUI activation (20ml, 5 mins) followed by NSS (5ml, 1min); (3) 17% EDTA with XP-endo Finisher (20ml, 5 mins) followed by NSS (5ml, 1min); and (4) 17% EDTA (20ml, 5 mins). The canals were dry, filled with culture medium and kept at 37 degrees Celsius for 24 hours. The supernatants were collected to measure TGF-β1 by ELISA. The data was statistically analyzed using One-Way ANOVA with Tukey Post hoc test at P <0.05. The results showed that group four (1,186.77±280.97 pg/ml) had the highest mean TGF-β1 released which was statistically higher than group one (580.02±327.26 pg/ml) and group three (458.59±191.11 pg/ml) (P <0.05) but not statistically higher than group two (897.09±270.94) (P >0.05). In conclusion, irrigation protocols affected the releasing of TGF-β1 from root canal dentin. However, the irrigation of EDTA with PUI activation followed by NSS resulted in growth factor released which was not statistically different from only irrigation with EDTA. | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณทรานส์ฟอร์มมิงโกรทแฟคเตอร์-เบต้า1 (TGF-β1) ที่ปลดปล่อยออกมาจากผนังคลองรากฟันเมื่อล้างคลองรากฟันด้วยวิธีการที่ต่างกัน ทำการศึกษาในฟันกรามน้อยล่างคลองรากฟันเดียวจำนวน 21 ซี่ ซึ่งได้จากคนไข้ในช่วงอายุ 18-25 ปี ทำการจำลองลักษณะปลายรากฟันเปิด แล้วจึงแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ตัวอย่างและมี 1 ตัวอย่างเป็นกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มที่ 1 ล้างด้วยสารละลายอีดีทีเอร้อยละ 17 (20 มิลลิลิตร 5 นาที) และล้างตามด้วยน้ำเกลือ (5 มิลลิลิตร 1 นาที) กลุ่มที่ 2 ล้างด้วยสารละลายอีดีทีเอร้อยละ 17 ร่วมกับการใช้เออริเซฟ (20 มิลลิลิตร 5 นาที) และล้างตามด้วยน้ำเกลือ กลุ่มที่ 3 ล้างสารละลายอีดีทีเอร้อยละ 17 ร่วมกับการใช้เอ็กซ์พีเอนโดฟินิชเชอร์ (20 มิลลิลิตร 5 นาที) และล้างตามด้วยน้ำเกลือ (5 มิลลิลิตร 1 นาที) กลุ่มที่ 4 ล้างด้วยสารละลายอีดีทีเอร้อยละ 17 (20 มิลลิลิตร 5 นาที) ทำการเติมอาหารเลี้ยงเซลล์ลงในคลองรากฟัน 20 ไมโครลิตร ทิ้งไว้ในอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนำมาหาปริมาณ TGF-β1 ด้วยวิธีอีไลซา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบทูคีย์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มที่ 4 มีการปลดปล่อย TGF-β1 มากที่สุด (1,186.77±280.97 pg/ml) มากกว่ากลุ่มที่ 1 (580.02±327.26 pg/ml) และกลุ่มที่ 3 (458.59±191.11 pg/ml) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับกลุ่มที่ 2 (897.09±270.94) สรุปผลได้ว่าวิธีการล้างคลองรากฟันที่ต่างกันส่งผลต่อปริมาณ TGF-β1 ที่ปลดปล่อยออกมาจากผนังคลองรากฟัน อย่างไรก็ตามการใช้อุปกรณ์เสริมระบบอัลตราโซนิกส์แบบไร้แรงร่วมด้วยขณะล้างด้วยสารละลายอีดีทีเอก่อนล้างตามด้วยน้ำเกลือจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการปลดปล่อยของ TGF-β1 ได้ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการล้างด้วยสารละลายอีดีทีเอเพียงชนิดเดียว | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | รีเจเนอเรทีฟ เอ็นโดดอนติกส์ | th |
dc.subject | โกรทแฟคเตอร์ | th |
dc.subject | ทรานส์ฟอร์มมิงโกรทแฟคเตอร์-เบต้า1 | th |
dc.subject | ระบบอัลตราโซนิกแบบไร้แรง | th |
dc.subject | เอ็กซ์พีเอ็นโดฟินิชเชอร์ | th |
dc.subject | TGF-β1 | th |
dc.subject | Regenerative endodontic | en |
dc.subject | Growth factor | en |
dc.subject | Transforming growth factor-beta1 | en |
dc.subject | Passive ultrasonic irrigation | en |
dc.subject | XP-endo Finisher | en |
dc.subject | TGF-β1 | en |
dc.subject.classification | Dentistry | en |
dc.title | THE EFFECT OF IRRIGATION PROTOCOLS TO TRANSFORMING GROWTH FACTOR-β1 RELEASED FROM ROOT CANAL DENTIN | en |
dc.title | ผลของวิธีการล้างคลองรากฟันต่อปริมาณทรานส์ฟอร์มมิงโกรทแฟคเตอร์-เบต้า1ที่ปลดปล่อยจากผนังคลองรากฟัน | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Faculty of Dentistry |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs611110061.pdf | 2.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.