Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/140
Title: DEVELOPMENT OF MULTIMEDIA PROJECT WITH SYNECTICS THINKING METHOD  3D MOTION ( STOP MOTION ) AND  2D AND 3D ANIMATION COURSE FOR SECONDARY SCHOOL YEAR 5 STUDENTS
การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบโครงงานที่ส่งเสริมกระบวนการคิดแบบซินเนคติกส์   เรื่อง การเคลื่อนไหว 3 มิติ (STOP MOTION) ในรายวิชาหลักการสร้างภาพเคลื่อนไหว2 มิติ และ 3 มิติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Authors: THANANUN INTITANON
ธนนันท์ อินทิตานนท์
Lertsiri Bovornkitti
เลิศศิริร์ บวรกิตติ
Srinakharinwirot University. Faculty of Fine Arts
Keywords: กระบวนการคิดแบบซินเนคติกส์
Multimedia project Synectics Thinking Method 3D or Stop Motion 2D 3D Animation course Mattayom Five Students
สื่อมัลติมีเดีย
หลักสูตร
ภาพเคลื่อนไหว
นักเรียนมัธยมศึกษา
Issue Date: 2019
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This paper aims to develop a multimedia project with the ability to encourage the synectic thinking process on 3D Motion or Stop Motion topic, consisting of a chapter on 2D and 3D animation courses for Secondary school year 5 students. The participants in this study included five students from Srinakharinwirot University Prasanmit Secondary Demonstration School, enrolled in the Department of Arts in the major of Animation who took the previously mentioned course during the first semester of the 2018 academic year in order to become the purposive sampling representatives in this search. A multiple choice examination was used as a pre-test and post-test among the learners in the 3D Motion course, including the multimedia project, which were set up as research tools. The research design used a One Group Pretest - Posttest Design, an experimental research design and dependent sample was analyzed with the t-test process. After the data was collected, it was found that the consequences of learning achievement after applying the multimedia project was higher than before. In addition, this result had a statistical significance of .01. In order to begin the process, set objectives such as analysis and promotion planning must be achieved. The multimedia was also systematically improved. This project was tested for content and educational technology but designed and made up of creditable knowledge. The conclusion provided an outcome demonstrating that students pay more attention to the class due to the fact that the instructional media consists of images, animation, and sounds attracted their interest. Furthermore, using computers and multimedia for study provides an effective benefit for both aspects of learning as it is both practical and beneficial for students in this major. Therefore, this method has been guaranteed and may be useful in terms of improving educational standards.
การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบโครงงานที่ส่งเสริมกระบวนการคิดแบบ ซินเนคติกส์ เรื่อง การเคลื่อนไหว 3 มิติ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ แผนการเรียนแอนิเมชัน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ซึ่งได้จากการที่ผู้วิจัยได้ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือสื่อมัลติมีเดียแบบโครงงานที่ส่งเสริมกระบวนการคิดแบบซินเนคติกส์ เรื่อง การเคลื่อนไหว 3 มิติ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้สื่อมัลติมีเดียแบบโครงงานที่ส่งเสริมกระบวนการคิดแบบซินเนคติกส์ เป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก ใช้เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน แบบแผนการวิจัยเป็นการวิจับเชิงกึ่งทดลอง สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ t-test สำหรับ Dependent Samples ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อน-หลังเรียน ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบโครงงานที่ส่งเสริมกระบวนการคิดแบบซินเนคติกส์ของ ผลการวิจัยของผู้เรียนสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วัตถุประสงค์ การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา การวางแผนดำเนินการพัฒนา โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญทั้งด้านเนื้อหาและเทคโนโลยีการศึกษาและมีการออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบโครงงานรวมถึงมีการใช้หลักการและทฤษฎีการเรียนรู้ สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนมีความสนใจในการศึกษาบทเรียน เนื่องจากเป็นสื่อมัลติมีเดียที่เรียนรู้ด้วยตนเองที่ประกอบด้วย ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบ ทำให้ผู้เรียนไม่รู้สึกน่าเบื่อหน่ายกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น และพบว่าการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์สื่อมัลติมีเดียสามารถใช้ในการเรียนการสอนด้านทักษะทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง
Description: MASTER OF EDUCATION (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/140
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130390.pdf6.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.