Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1013
Title: ASSESSMENT OF CONCEPT AND DESIGN OF NATIONAL E-PAYMENT STRATEGY TO CREATE CASHLESS SOCIETY IN THAILAND
การประเมินแนวคิดการออกแบบแผนยุทธศาสตร์ National E-payment เพื่อสร้างสังคมไร้เงินสดในประเทศไทย
Authors: PRACH TREEJATURUN
ปรัชญ์ ตรีจาตุรันต์
Preechaya Nakfon
ปรีชญาณ์ นักฟ้อน
Srinakharinwirot University. Faculty of Social Sciences
Keywords: สังคมไร้เงินสด
ทฤษฎีโครงการ
cashless society
program theory
Issue Date:  18
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The objective of this thesis were to study the concept and design of National E-payment strategy to create cashless society in Thailand by studying through the concept of a cashless society in 4 areas as follows phasing out paper currency , universal financial inclusion , privacy and security and real-time clearing. Reflection through Strategic Plan of the National e-Payment 5 projects Any ID , Expand the usage of Electronic card, Electronic tax system, Government E-payment and public relations to provide knowledge about E-payment. This study was qualitative research with program theory that design of the project creates the intervention Leading to the determinants that need to be changed according to the concept of a cashless society.  the results of this study showed total of 13 interventors of the National e-Payment Strategic Plan connected to 5 of the 7 fundamental determinants of a cashless society. which still needs to be developed for further policies.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การสร้างสังคมไร้เงินสดในประเทศไทย ผ่านทางนโยบาย  National e-Payment โดยศึกษาผ่านแนวคิดสังคมไร้เงินสดใน 4 ด้านประกอบด้วย การการลดการใช้เงินสด การสร้างระบบการเงินที่ทั่วถึงทุกกลุ่มคน ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว และการทำธุรกรรมแบบเรียลไทม์  สะท้อนผ่านทาง แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ทั้ง 5 โครงการ การพัฒนาระบบการชำระเงินแบบ Any ID หรือ PromptPay การขยายการใช้บัตรและจุดรับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โครงการ e-Payment ภาครัฐ และการให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาตามทฤษฎีโครงการ ว่าการออกแบบโครงการสร้างสร้างตัวแทรกแซง ที่นำไปสู่ตัวกำหนดที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ ตามหลักแนวคิดสังคมไร้เงินสดได้อย่างไ ผลการวิจัยพบว่า มีการสร้างตัวแทรกแซง  ทั้งสิ้น 13 ตัว ที่เชื่อมต่อกับตัวกำหนดตามแนวคิดพื้นฐานในการสร้างสังคมไร้เงินสด 5 ตัว จากทั้งหมด 7 ตัวด้วยกัน ซึ่งยังต้องมีการพัฒนานโยบายต่อไป
Description: MASTER OF PUBLIC ADMINISTRATION (M.P.A.)
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1013
Appears in Collections:Faculty of Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601110127.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.