Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPATCHARAPORN POOLBUNen
dc.contributorพัชราภร พูลบุญth
dc.contributor.advisorTheerapong Sangpraditen
dc.contributor.advisorธีรพงษ์ แสงประดิษฐ์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Science Education Centeren
dc.date.accessioned2021-03-19T08:35:50Z-
dc.date.available2021-03-19T08:35:50Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1005-
dc.descriptionDOCTOR OF EDUCATION (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research are as follows: (1) to develop a model of professional teacher development to promote science learning management ability and using scientific argumentation of pre-service science teachers; (2) to study their ability to make a science lesson plan using scientific argumentation among pre-service science teachers in the workshop; (3) to study the ability of science learning management using scientific argumentation among pre-service science teachers in the in-depth monitoring phase; and (4) to study the satisfaction of the teacher professional development model to promote the ability of science learning management using scientific argumentation of pre-service science teachers. The participants were 28 Fifth Year pre-service science teachers at the Faculty of Education at Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. There were three levels of scientific argument skills: excellent, good, and fair, used to conduct an in-depth study. The data was collected with six activity plans in the workshop, followed by the developed model, the self-efficacy in science learning management questionnaire, a science learning plan evaluation form, science teaching ability evaluation form, a satisfaction questionnaire and semi-structured interviews. The research methodology used mixed methods. The quantitative data was analyzed using mean, percentage, standard deviation, and a one-sample t-test. The qualitative data was analyzed by content analysis and interpreted the data analysis results. The results indicated that the model to enhance the ability of pre-service science teachers was the BICAER model, which has six steps: (1) basic data analysis; (2) identification; (3) comprehension; (4) argumentation session; (5) evaluation; and (6) reflection; (2) ability to make science learning management plans and the posttest score was higher than the pretest score at a .05 level of statistical significance; (3)  ability of science learning management in the in-depth monitoring phase and posttest scores were higher: (1) level of ability to make science learning management plans was 73.44%; and (2) level of ability in science teaching was 79.00%; and (4) the mean score of satisfaction with the model and the program was 3.5 for all items.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนารูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ 2. ศึกษาความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ ในระหว่างการอบรมเชิงปฏิบัติการ 3. ศึกษาความสามารถในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ ในระยะการติดตามเชิงลึก และ 4. ศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ชั้นปีที่ 5 จำนวน 28 คน และเลือกนักศึกษาจำนวน 3 คน เพื่อทำการศึกษาเชิงลึก โดยเลือกจากมีระดับทักษะการโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ต่างกัน ใน 3 กลุ่ม คือ ดีมาก ดี และ พอใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ หน่วยกิจกรรม จำนวน 6 หน่วย แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง แบบประเมินความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติการสอน แบบสอบถามความพึงพอใจ และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed - methods) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test for one sample) ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) และนำผลการวิเคราะห์ตีความข้อมูลร่วมกัน ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบ BICAER model ที่พัฒนาขึ้น มีทั้งหมด 6 ขั้น คือ (1) ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Basic Data Analysis: B) (2) ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Identification: I) (3) ขั้นสร้างความรู้ความเข้าใจ (Comprehension: C) (4) ขั้นกิจกรรมการโต้แย้ง (Argumentation session: A) (5) ขั้นการประเมินผล (Evaluation: E) และ (6) ขั้นการสะท้อนผลการพัฒนา (Reflection: R) 2. ระดับความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้หลังการอบรมเชิงปฏิบัติการสูงกว่าก่อนอบรมที่ระดับ .05 3. ความสามารถในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ในระยะการติดตามเชิงลึกหลังใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนอบรม พิจารณาจาก (1) ระดับความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 73.44 และ (2) ระดับความสามารถในการปฏิบัติการสอน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 79.00  และ 4. ระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบและโปรแกรมมีคะแนนเฉลี่ย 3.5 ขึ้นไปทุกรายการth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์th
dc.subjectการโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectความสามารถth
dc.subjectScience learning managementen
dc.subjectScientific argumentationen
dc.subjectAbilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF A TEACHER PROFESSIONAL DEVELOPMENT MODEL TO ENHANCE THE SCIENCE TEACHING ABILITY USING SCIENTIFIC ARGUMENTATION FOR PRE – SERVICE SCIENCE TEACHERSen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้การโต้แย้งเชิงวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์th
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Science Education Center

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571120040.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.