Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorDUANGPORN RATSINTHORNen
dc.contributorดวงพร รัดสินทรth
dc.contributor.advisorSupada Sirikuttaen
dc.contributor.advisorสุพาดา สิริกุตตาth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Societyen
dc.date.accessioned2020-12-24T01:40:28Z-
dc.date.available2020-12-24T01:40:28Z-
dc.date.issued15/5/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/873-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research investigated technology perception, which included perceived usefulness and perceived ease of use influencing service intentions consumer's usage via QR code in the Bangkok metropolitan area. This study employed quantitative research. The questionnaire was used as a tool to collect information on four hundred consumers over fifteen years of age interested in using QR payment in the Bangkok metropolitan area. The results found the following: Consumers had a high level of technology perception at a high level for every item. Perceived usefulness in compatibility was at the highest level, followed by perceived usefulness in terms of observability, relative advantage, complexity, trial ability and perceived ease of use in terms of self-efficacy was at the highest level, followed by the ease of use in usability and safety. Consumers with variation in terms of ages and average monthly income had intentions to use QR payment services at a different level. Perceived usefulness in terms of compatibility, complexity and perceived ease of use in terms of safety influence on service intention and consumer usage via QR code in the Bangkok metropolitan area with a statistical significance level of 0.05, which can explain the 59.8 percentage.  en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา การรับรู้เทคโนโลยี ประกอบด้วย การรับรู้การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยี และการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการการชำระเงินผ่านคิวอาร์ โค้ด ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มผู้บริโภคที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีความสนใจใช้บริการการชำระเงินผ่านคิวอาร์ โค้ด ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมีการรับรู้เทคโนโลยีโดยรวมในระดับมากทุกข้อ โดยการรับรู้การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยี ด้านความเข้ากันได้ของระบบอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสามารถในการสังเกตได้ ด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ ด้านความซับซ้อนในการใช้งาน และด้านความสามารถในการนำไปทดลองใช้ และการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสะดวกในการใช้งาน และด้านความปลอดภัยในการใช้งาน โดยผู้บริโภคที่มีอายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน มีความตั้งใจใช้บริการการชำระเงินผ่านคิวอาร์ โค้ด แตกต่างกัน และการรับรู้การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยี ด้านความเข้ากันได้ของระบบ ด้านความซับซ้อนในการใช้งาน และการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ด้านความปลอดภัยในการใช้งาน มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการการชำระเงินผ่านคิวอาร์ โค้ด ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสามารถอธิบายได้ร้อยละ 59.8th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการรับรู้เทคโนโลยีth
dc.subjectความตั้งใจใช้บริการth
dc.subjectคิวอาร์ โค้ดth
dc.subjectTechnology perceptionen
dc.subjectService Intentionen
dc.subjectConsumer Usageen
dc.subjectQR Codeen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleTECHNOLOGY PERCEPTION AFFECTING SERVICE INTENTION CONSUMER'S USAGE VIA QR CODE IN BANGKOK METROPOLITAN AREAen
dc.titleการรับรู้เทคโนโลยีที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการการชำระเงินผ่านคิวอาร์ โค้ด ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130332.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.