Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/791
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPHIRATCHAYA PHAMONTRIen
dc.contributorพิรัชญา ภามนตรีth
dc.contributor.advisorPorawan Pattayanonen
dc.contributor.advisorปรวัน แพทยานนท์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:17:56Z-
dc.date.available2020-11-30T01:17:56Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/791-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to develop and to compare the results of the use of creative drama activities to enhance social interaction of among youth in Sub-Sin 26-7 Community Building in Klong Toey. It was applied with a sample of 20 youths, aged between ten and fifteen and used purposive sampling. The research instruments included the following: (1) social interaction behavior test; (2) creative drama activities to enhance social interaction among the youth; and (3) social interaction behavior observation. The results were as follows: (1) the researcher designed the principles of creative drama theories, combined with interaction theories; and (2) the results used creative drama activities to enhance social interaction found that the social interaction behavior of the sample group before and after the experiment were different at a statistically significant level at 0.05. The development of social interaction behavior in all aspects were in descending order, as follows: collaboration skills, communication skills, leadership skills and problem-solving skills. The researcher found that the activity of role play was not enough for the sample group. The activities should be in the form of a competitive game to become more interesting and create enthusiasm.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาและศึกษาผลก่อนและหลังการใช้กิจกรรมละครสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของเยาวชนในชุมชนอาคารทรัพย์สิน 26-7 เขตคลองเตย กลุ่มตัวอย่างคือ เยาวชนในชุมชนอาคารทรัพย์สิน 26-7 อายุ 10-15 ปี จำนวน 20 คน ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบวัดพฤติกรรมการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 2) กิจกรรมละครสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้วิจัยทำการพัฒนากิจกรรมละครสร้างสรรค์ ออกแบบโดยยึดหลักทฤษฎีละครสร้างสรรค์ ผสมผสานกับทฤษฎีการสร้างปฏิสัมพันธ์ ใช้เวลาดำเนินกิจกรรม 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที 2) ผลการใช้กิจกรรมละครสร้างสรรค์ก่อนและหลังทำกิจกรรม พบว่า พฤติกรรมการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการทดลองมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ทางสังคมหลังการทดลองมีค่ามากกว่าก่อนการทดลอง โดยมีการพัฒนาพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในทุกๆด้าน เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ พฤติกรรมด้านการทำงานกลุ่ม ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านภาวะผู้นำ และด้านการแก้ไขปัญหา ผู้วิจัยพบว่าการใช้กิจกรรมในรูปแบบการสมมติบทบาทสร้างสถานการณ์เพียงรูปแบบเดียว ไม่เพียงพอสำหรับกลุ่มตัวอย่างนี้ ควรมีการใช้กิจกรรมที่อยู่ในรูปแบบเกมการแข่งขันมาช่วยกระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างเกิดความสนใจและกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectกิจกรรรมละครสร้างสรรค์th
dc.subjectการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมth
dc.subjectการพัฒนากิจกรรมth
dc.subjectcreative drama activityen
dc.subjectsocial interactionen
dc.subjectActivity developmenten
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CREATIVE DRAMA TO ENHANCE THE SOCIAL INTERACTION OF YOUTH: A CASE STUDY OF YOUTH IN SUB-SIN 26-7 COMMUNITY BUILDING, KLONG TOEY, BANGKOKen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมละครสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของเยาวชน: กรณีศึกษา เยาวชนในชุมชนอาคารทรัพย์สิน 26-7 เขตคลองเตย กรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130431.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.