Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorANUSIT BUNVONGen
dc.contributorอนุสิทธิ์ บุญวงศ์th
dc.contributor.advisorTepika Rodsakanen
dc.contributor.advisorเทพิกา รอดสการth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Fine Artsen
dc.date.accessioned2020-11-30T01:17:53Z-
dc.date.available2020-11-30T01:17:53Z-
dc.date.issued18/12/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/787-
dc.descriptionMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the process of cultural reproducing of music in the shadow play performances of the “Nong Dieow Luk Thung Wattanatham”, Nakhon Si Thammarat Province . Using the ideas of Pierre Bourdieu's social and cultural capital as a basis for Raymond Williams' analysis of cultural reproduction processes. In which data was collected by studying in real locations such as interviewing the concerned parties, recording the soundtrack for the performance. The result of the research shows that: The cultural reproducing process of music in the shadow play shows is an important part of the popular culture of the shadow play “Nong Dieow Luk Thung Wattanatham” As a result, the shadow play culture, which is the unique performance culture of the southern region, has resumed its role in society after being dissolved. In the cultural reproducing process of music composed in shadow play, consisting of  1) Product : Combine Western music with folk music. Adjust the melody according to popular music. Western musical instruments are increasingly important in instrumental play. The show is concise, easy to understand, consistent with the application of music for the performance. 2) Distribute: Use communication technology for watching shadow play shows. Peoples can watch everywhere, anytime and all ages. From before, which can only be watched in live performances. 3) Consumption : Currently, the audience of the show can choose to watch a variety of media. The adaptation of the shadow play is necessary to adapt to meet the needs of the audience such as increased entertainment or music that is popular. 4 )Reproduction : Application of music to performances and styles of performance to the era, match the needs of the audience, resulting in knowledge, new practice in the shadow play which can be a role model of other shadow play faculties. Including the upcoming shadow play faculty.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมของดนตรีประกอบการแสดงหนังตะลุงของคณะน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรม จ.นครศรีธรรมราช โดยใช้แนวคิดทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของ Pierre Bourdieu นำมาเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์กระบวนการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมตามแนวคิดของ Raymond Williams ซึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการลงภาคสนามในสถานที่จริง สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง บันทึกเสียงเพลงประกอบการแสดง ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมของดนตรีประกอบการแสดงหนังตะลุงเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งที่ทำให้วัฒนธรรมการแสดงหนังตะลุงของคณะน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรมได้รับความนิยมซึ่งส่งผลให้วัฒนธรรมการแสดงหนังตะลุงที่เป็นวัฒนธรรมการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้กลับมามีบทบาทในสังคมอีกหลังจากที่กำลังจะเลือนหายไป ในกระบวนการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมของดนตรีประกอบการแสดงหนังตะลุงนั้นประกอบด้วย 1) การผลิต(Product) นำรูปแบบของดนตรีตะวันตกมาผสมผสานกับเพลงพื้นบ้าน ปรับเปลี่ยนทำนองตามเพลงสมัยนิยม เครื่องดนตรีตะวันตกมีบทบาทมากขึ้นในการบรรเลง การแสดงที่มีความกระชับ รวบรัด เข้าใจง่ายสอดคล้องกับการประยุกต์ดนตรีประกอบการแสดง2) การเผยแพร่(Distribute) ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเป็นช่องทางในการรับชมการแสดงหนังตะลุง สามารถรับชมได้ทุกที่ ทุกเวลาจากเดิมที่สามารถรับชมได้เฉพาะการแสดงสด จึงทำให้ผู้รับชมสามารถชมการแสดงได้ทุกเพศ ทุกวัย 3) การบริโภค (Consumption) ผู้ชมการแสดงสามารถเลือกชมสื่อการแสดงได้หลากหลายในปัจจุบัน การปรับตัวของหนังตะลุงจึงจำเป็นต้องปรับตัวให้ตรงกับความต้องการของผู้ชมเช่นเพิ่มความบันเทิง ดนตรีประกอบการแสดงที่เป็นสมัยนิยมเป็นต้น  4) การผลิตซ้ำ (Reproduction) การประยุกต์ดนตรีประกอบการแสดงและรูปแบบการแสดงให้เข้ากับยุคสมัย ตรงกับความต้องการของผู้ชม เกิดเป็นองค์ความรู้ แนวปฏิบัติใหม่ในการแสดงหนังตะลุงซึ่งสามารถเป็นแบบอย่างของหนังตะลุงคณะอื่นๆ รวมทั้งคณะหนังตะลุงที่จะเกิดขึ้นใหม่th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectกระบวนการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมth
dc.subjectการผลิตth
dc.subjectการเผยแพร่th
dc.subjectการบริโภคth
dc.subjectการผลิตซ้ำth
dc.subjectcultural reproductionen
dc.subjectProducten
dc.subjectDistributeen
dc.subjectConsumptionen
dc.subjectReproductionen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.title A STUDY OF MUSICAL CULTURERAL REPRODUCTION IN MUSICFOR SHADOW PLAY “NONG DIEOW LUK THUNG WATTANATHAMW”, NAKHON SI THAMMARAT PROVINCEen
dc.titleการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมของดนตรีประกอบการแสดงหนังตะลุงคณะน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรม จ.นครศรีธรรมราช th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs581130258.pdf10.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.