Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/741
Title: THE DEVELOPMENT OF MANAGEMENT MODEL TOWARDS EXCELLENCE IN MUSIC PERFORMING VOCAL AND VISUAL ARTS IN BUNDITPATANASILPA INSTITUTE
การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 
Authors: THANAWUTH SUKSAMRAN
ธนาวุฒิ สุขสำราญ
Chakrit Ponathong
จักรกฤษณ์ โปณะทอง
Srinakharinwirot University. Faculty of Education
Keywords: การพัฒนารูปแบบ
การบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ
นาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
Model development
Excellence
Management of performing arts and visual arts
Bunditpatanasilpa Institute
Issue Date:  18
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purposes of this research are as follows: (1) to study the current conditions and expectations on the management towards the excellence of the music, performing, vocal, and visual arts; (2) to develop a proper model of excellent management; and (3) to provide a policy recommendation to enhance managerial excellence at the Bunditpatanasilpa Institute.The population of this study included 365 respondents using the estimated scale with a questionnaire survey on managerial excellence in terms of music, performing, vocal, and visual arts at the institute. The reliability value of the entire condition and expectation was .989 and .990, respectively. The statistical tools for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, PNI, and a t-test. The results revealed the following: the most significant need of managerial excellence at Bunditpatanasilpa was the importance of service users and stakeholders with a PNI of 0.261; followed by human resources (PNI 02.49,) analysis, knowledge management, measurement and performance (PNI 0.229); operational system (PNI 0.202); leadership and lead organizations (PNI 0.229); and strategic planning (PNI 0.177), respectively. While the overall management model towards the excellence of the music, performance, vocals, and visual arts were highly satisfied and higher than the standard criteria with a statistical significance of .01, and the policy recommendation for implementation was comprised of seven agendas at the ministerial level, seven agendas at the institutional level, and seven agendas for the faculty and the college. 
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพความคาดหวังของการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 2)เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และ 3) เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการนำรูปแบบการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ไปใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยทั้งหมด จำนวน 365 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราประมาณค่า คือ แบบสอบถามการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โดยมีความเชื่อมั่นของสภาพปัจจุบันและสภาพความคาดหวังทั้งฉบับเท่ากับ .989 และ .990 ตามลำดับ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคระห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีลำดับของความต้องการจำเป็น (PNI) และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพความคาดหวังของการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด ค่า PNI เท่ากับ 0.261 รองลงมา คือ ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร ค่า PNI เท่ากับ 0.249 ถัดมาคือ ด้านการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ และ ด้านผลลัพธ์การดำเนินการ  ค่า PNI เท่ากับ 0.229  ด้านการมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ ค่า PNI เท่ากับ 0.202 ด้านภาวะผู้นำและการนำองค์กร ค่า PNI เท่ากับ 0.201  และด้านการวางแผนกลยุทธ์ ค่า PNI เท่ากับ 0.177 ตามลำดับ 2) ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และทัศนศิลป์ โดยมี 7 องค์ประกอบ จำนวน 46 ข้อ โดยมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการนำรูปแบบไปใช้ ประกอบด้วย มีดังนี้ 1) นโยบายระดับกระทรวง จำนวน 7 ข้อ 2) นโยบายระดับสถาบัน จำนวน 7 ข้อ และ 3) นโยบายระดับคณะและวิทยาลัย จำนวน 7 ข้อ
Description: DOCTOR OF EDUCATION (Ed.D.)
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/741
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571150018.pdf7.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.