Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/696
Title: EFFECTS OF USING REAP STRATEGY ON THAI LITERATURE LEARNING ACHIEVEMENT AND CRITICAL THINKING ABILITYOF ELEVENTH GRADE STUDENTS
ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Authors: WEERAPAT SUPARASINGH
วีรภัทร ศุภรสิงห์
Suppawan Satjapiboon
ศุภวรรณ สัจจพิบูล
Srinakharinwirot University. Faculty of Education
Keywords: กลวิธี REAP
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทย
ความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์
REAP strategy
Thai literature learning achievement
Critical thinking ability
Issue Date:  30
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purposes of this research are as follows: (1) to compare the Thai literature learning achievement and the critical thinking ability of eleventh grade students before and after learning with the REAP strategy; (2) to compare Thai literature learning achievement and the critical thinking ability among eleventh grade students with the REAP strategy and those taught by conventional instruction; The sample in this study was two classrooms of eleventh grade students at Triamudomsuksa Pattanakarn Nonthaburi School. There were 88 students selected by Cluster Sampling, with 45 students in the experimental group and 43 students in the control group. The research instruments included: (1) lesson plans with REAP strategies; (2) lesson plans with conventional instruction; (3) a Thai literature learning achievement test; and (4) a critical thinking ability test. The data were analyzed by Mean (M), Standard Deviation (SD), and a dependent and an independent t-test. The results revealed the following: (1) the Thai literature learning achievement and the critical thinking ability of eleventh grade students using the REAP strategy on the posttest was higher than the pretest at a 0.5 level of significance; (2) the Thai literature learning achievement and the critical thinking ability of eleventh grade students who used the REAP strategy was higher than those taught with conventional instruction at a 0.5 level of significance.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี REAP 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี REAP กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ นนทบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม จากนั้นจับฉลากห้องเรียนเพื่อเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง  และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี REAP 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทย และ  4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบด้วย t-test for dependent และ t-test for independent ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 
Description: MASTER OF EDUCATION (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/696
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs591130124.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.