Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKATEKAW KONGKLAYen
dc.contributorเกศแก้ว คงคล้ายth
dc.contributor.advisorSuppawan Satjapiboonen
dc.contributor.advisorศุภวรรณ สัจจพิบูลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-11-01T04:30:04Z-
dc.date.available2020-11-01T04:30:04Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/695-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research are as follows: (1) to compare the rhythm reading skills and the attitudes to rhythm reading among Grade Eleven students before and after they have learned the Models and Scaffolding strategies; and (2) to compare the rhythm reading skills and the attitudes to rhythm reading of Grade Eleven students learned from Model and Scaffolding with those taught by conventional instruction. The samples in this study was two classrooms of eleventh grade students at Naresuan University Secondary Demonstration School. There were 73 students chosen by Cluster Sampling, with 36 students in the experimental group and 37 in the control group. The research instruments included: (1) lesson plans for models and scaffolding strategies; (2) lesson plans on conventional instruction; (3) rhythm reading skills test; and (4) attitudes to rhythm reading. The data were analyzed by mean (M), standard deviation (SD), a dependent t-test and an independent t-test. The results revealed the following: (1) the rhythm reading skills and the attitudes to rhythm reading of Grade Eleven students who learned from the Model and Scaffolding strategies posttest was significantly higher than the pretest at a level of 0.5; and (2) the rhythm reading skills and the attitudes to rhythm reading of Grade Eleven students who learned from Models and Scaffolding strategies was significantly higher than those taught by conventional instruction at a level of 0.5.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะและเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้จากตัวแบบร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะและเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้จากตัวแบบร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 73 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จากนั้นเลือกกลุ่มทดลองด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 36 คน และกลุ่มควบคุมอีก 1 ห้องเรียน จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้จากตัวแบบร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้ 2) แผนจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) แบบประเมินความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะ 4) แบบสอบถามเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบด้วย t-test for dependent และ t-test for independent ผลวิจัย พบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้จากตัวแบบร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้มีความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะและเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้จากตัวแบบร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้มีความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะและเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectตัวแบบth
dc.subjectกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้th
dc.subjectความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะth
dc.subjectเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะth
dc.subjectModelsen
dc.subjectScaffolding strategiesen
dc.subjectRhythm Reading Skillen
dc.subjectAttitudes to rhythm readingen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleEFFECTS OF LEARNING FROM MODELS AND SCAFFOLDING STRATEGIESON RHYTHM READING SKILL AND ATTITUDE IN RHYTHM READINGOF ELEVENTH GRADE STUDENTS en
dc.titleผลของการเรียนรู้จากตัวแบบร่วมกับกลวิธีการเสริมต่อการเรียนรู้ที่มีต่อความสามารถในการอ่านทำนองเสนาะและเจตคติต่อการอ่านทำนองเสนาะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs591130118.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.