Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/650
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNARUPOT PIAMPANYAen
dc.contributorนฤพจน์ เปี่ยมปัญญาth
dc.contributor.advisorSittipong Wattananonsakulen
dc.contributor.advisorสิทธิพงศ์ วัฒนานนท์สกุลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Graduate Schoolen
dc.date.accessioned2020-10-03T11:50:14Z-
dc.date.available2020-10-03T11:50:14Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/650-
dc.descriptionMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe aims of this study were to test the causal model of work effort among employees, in which psychological empowerment and job satisfaction served as a mediator and to examine the direct and indirect effects of self-leadership through psychological empowerment and job satisfaction. A self-report questionnaire was used to collect data from three hundred and thirty-eight employees in the Bangkok Metropolitan Region and path analysis was performed to analyze the tested model. The results revealed that overall goodness-of-fit statistical analysis showed the tested model of work effort was well suited with the empirical data. The factors of self-leadership, psychological empowerment, and job satisfaction positively influenced work effort and those factors explain the variance of work effort 55%. However, there was no direct impact from self-leadership in terms of work effort, but self-leadership had an indirect effect on work effort via psychological empowerment and job satisfaction, which resulted in a completely mediating effect. These results suggested that self-leadership, psychological empowerment, and job satisfaction should be applied in terms of further work effort programs among employees.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบโมเดลเชิงสาเหตุของความพยายามในการทำงานของพนักงาน โดยมีการเสริมพลังอำนาจทางจิตวิทยาและความพึงพอใจในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน และเพื่อตรวจสอบอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมของภาวะผู้นำในตนเอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานบริษัทในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางอายุเฉลี่ย 42 ปี จำนวน 338 คน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามแบบรายงานตนเอง และใช้การวิเคราะห์เส้นทาง ในการประมาณค่าพารามิเตอร์ในโมเดลการวิจัยเพื่อตอบสมมติฐานการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของอิทธิพลภาวะผู้นำในตนเองที่มีต่อความมุ่งมั่นในการทำงานของพนักงาน โดยมีการเสริมพลังอำนาจเชิงจิตวิทยาและความพึงพอใจในงานเป็นตัวแปรส่งผ่านมีความสอดคล้อง กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยภาวะผู้นำในตนเอง การเสริมพลังอำนาจเชิงจิตวิทยา และความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลทางบวกต่อความมุ่งมั่นในการทำงานของพนักงาน และร่วมกันอธิบายความแปรปรวนในความมุ่งมั่นในการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 55 ทั้งนี้ ภาวะผู้นำในตนเองไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อความมุ่งมั่นในการทำงาน แต่มีอิทธิพลทางอ้อมโดยส่งผ่านการเสริมพลังอำนาจเชิงจิตวิทยาและความพึงพอใจในงานอย่างสมบูรณ์ ผลที่ได้จากการวิจัยนี้สอดคล้องกับสมมติฐานและยืนยันตามทฤษฎีแรงจูงใจการประยุกต์ทฤษฎีทางจิตวิทยาในการสร้างโปรแกรมเพื่อเพิ่มความมุ่งมั่นในการทำงานของพนักงานในลำดับต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความมุ่งมั่นในการทำงานth
dc.subjectพนักงานth
dc.subjectทฤษฎีการกำหนดตนเองth
dc.subjectwork efforten
dc.subjectemployeeen
dc.subjectself-determination theoryen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleEFFECT OF SELF-LEADERSHIP ON WORK EFFORT AMONG COMPANY EMPLOYEES: THE MEDIATION ROLE OF PSYCHOLOGICAL EMPOWERMENT AND JOB SATISFACTIONen
dc.titleอิทธิพลของภาวะผู้นำในตนเองที่มีต่อความมุ่งมั่นในการทำงานของพนักงานบริษัท โดยมีการเสริมพลังอำนาจทางจิตวิทยา และความพึงพอใจในงานเป็นตัวแปรส่งผ่านth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130211.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.