Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTINNAPOP MALAPUTen
dc.contributorติณณภพ มาลาพุดth
dc.contributor.advisorSingha Chankhawen
dc.contributor.advisorสิงหา จันทน์ขาวth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Physical Educationen
dc.date.accessioned2020-10-03T11:14:43Z-
dc.date.available2020-10-03T11:14:43Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/622-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were as follows: (1) to identify the efficiency of the lesson plans; (2) to compare learning achievement and problem-solving ability before and after learning; (3) to compare learning achievement and problem-solving ability between the two experimental groups; and (4) to study the satisfaction of two experimental groups concerning learning management. The fifty-three Grade Seven students were divided into two groups, with twenty-seven in the Problem-Based Learning group and twenty-six in the Inquiry Learning group. The research instruments applied in this study included the following: (1) lesson plans of Problem-Based and Inquiry learning; (2) a learning achievement test; (3) problem-solving test; and (4) a questionnaire regarding learning satisfaction. The findings revealed the following: (1) the efficiency of Problem-Based and Inquiry lesson plans was higher than the standard criterion set at 75/75; (2) the mean scores of problem-solving ability and the learning achievement of the experimental groups which used both learning methods had a significantly higher mean score of learning achievement after learning than before learning at a level of .05; (3) mean scores of learning achievement after learning between the two experimental groups found no differences. In terms of problem-solving ability, they were found to be significantly different at a level of .05; and (4) the learning satisfaction of both experimental groups were at a very high level.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1)หาค่าประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ 3)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาระหว่างกลุ่มทดลอง และ4)ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 53 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการใช้ปัญหาเป็นฐานจำนวน 27 คนและกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1)แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการใช้ปัญหาเป็นฐานและวิธีการสืบเสาะหาความรู้ 2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3)แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และ4)แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานและสถิติทดสอบความแตกต่าง ผลการวิจัยพบว่า 1)แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการใช้ปัญหาเป็นฐานและแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ มีค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ 75/75 2)ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ทั้งสองวิธี หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3)ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ในส่วนความสามารถในการคิดแก้ปัญหา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4)ความพึงพอใจของกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ทั้งสองวิธี โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectสืบเสาะหาความรู้th
dc.subjectการคิดแก้ปัญหาth
dc.subjectlearning achievementen
dc.subjectproblem–based learningen
dc.subjectproblem solvingen
dc.subjectinquiry learningen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleTHE COMPARISON OF LEARNING ACHIEVEMENT AND PROBLEM SOLVING ABILITY USING PROBLEM – BASED LEARNING METHOD AND INQUIRY METHOD ON FOOD AND NUTRITION IN HEALTH EDUCATION OF GRADE 7 STUDENTSen
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการใช้ปัญหาเป็นฐานกับการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ในเนื้อหาวิชาสุขศึกษา เรื่อง อาหารและโภชนาการ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130248.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.