Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/621
Title: PHYSIOLOGICAL  RESPONSE AND PERFORMANCE OF REPEATED SPRINT ABILITY WITH CHANGE OF DIRECTION ON DIFFERRENT SURFACE
การตอบสนองทางสรีรวิทยาและสมรรถนะของความสามารถในการวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้ำ ๆ ที่มีการเปลี่ยนทิศทางบนพื้นผิวที่แตกต่างกัน
Authors: WATUNYOU KUMROS
วทัญญู คำรส
Krirkwit Phongsri
เกริกวิทย์ พงศ์ศรี
Srinakharinwirot University. Faculty of Physical Education
Keywords: ความสามารถในการวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้ำ ๆ
การเปลี่ยนทิศทาง
การตอบสนองทางสรีรวิทยา
พื้นที่แตกต่างกัน
Physiological response
Repeated sprint ability
Change of direction
Different surfaces
Issue Date:  18
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This study was a comparison of physiological responses and speed performance of repeated sprint ability (RSA) with a change of direction between running on parquet surface (PS) and sand surface (SS). This study use a cross-over design. There were twelve team sport athletes (21.5 ± 0.8 years) and they performed six sprints at 0 degrees (straight line), 90 degrees and 180 degrees (shuttle run) on PS and SS. The maximum speed, average speed, percentage of speed decrement (%Dec), blood lactate ([La]b), oxygen uptake (VO2), ventilation (VE), carbon dioxide production (VCO2), and RPE were measured in each test. The blood lactate level was significantly high for PS0 when compared to PS90 and PS 180 (p<.05). Oxygen uptake SS90  were higher SS180 was significantly (p<.05). The maximum and the average speed of PS0 was significantly higher than PS90, PS180, SS0, SS90 and SS180 (p<.01). The percentage of speed decrement of PS180 was lower than PS0 and PS90 (p<.05) and SS180 was significantly lower than SS90 (p<.01). The repeated sprint ability of PS had a higher speed than SS and likely had physiological responses better than SS. Running in the straight line provided higher physiological responses than running in a different direction.
ศึกษาเปรียบเทียบการตอบสนองทางสรีรวิทยาและสมรรถนะของความสามารถในการวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้ำ ๆ ที่มีการเปลี่ยนทิศทางระหว่างการวิ่งพื้นไม้ปาร์เกต์และพื้นทราย ทำการศึกษาแบบไขว้สลับ จากกลุ่มตัวอย่างนักกีฬาประเภททีม จำนวน 12 คน (21.5 ± 0.8 ปี) ทำการวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้ำ ๆ จำนวน 6 เที่ยว ในแต่ละรูปแบบ ได้แก่การวิ่งที่มีการเปลี่ยนทิศทางที่มุม 0 90 องศา และ 180 บนพื้นไม้ปาร์เกต์ และพื้นทราย ทำการบันทึกข้อมูลตัวแปรทางด้านสรีรวิทยาและสมรรถนะทุกครั้งที่ทดสอบ ผลการวิจัยพบว่าปริมาณแลคเตทในเลือดของการวิ่งบนพื้นไม้ปาร์เกต์ที่มีการเปลี่ยนทิศทาง 0 องศา > 90 และ 180 องศา (p<.05) อัตราการใช้ออกซิเจนของการวิ่งบนพื้นทรายที่มีการเปลี่ยนทิศทาง 90 องศา > 180 องศา (p<.05) ปริมาณการระบายอากาศเข้า-ออกของการวิ่งบนพื้นไม้ปาร์เกต์ที่มีการเปลี่ยนทิศทาง 0 องศา > 180 และ 90 องศา (p<.05) และสูงกว่าพื้นทรายที่มุม 0 90 และ 180 องศา (p<.01) ความเร็วสูงสุด และค่าเฉลี่ยของความเร็วของการเปลี่ยนทิศทาง 0 องศา บนพื้นไม้ปาร์เกต์มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าการวิ่งบนพื้นไม้ปาร์เกต์ที่มีการเปลี่ยนทิศทางทุกรูปแบบ (p<.01) เปอร์เซ็นต์การลดลงของความเร็วของการวิ่งบนพื้นไม้ปาร์เกต์ที่มีการเปลี่ยนทิศทาง 180 องศา < 0 และ 90 องศา และการวิ่งบนพื้นทรายที่มีการเปลี่ยนทิศทาง 180 องศา < 90 องศา (p<.01) การวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้ำ ๆ บนพื้นไม้ปาร์เกต์สามารถทำความเร็วได้ดี และมีแนวโน้มการตอบสนองทางสรีรวิทยาที่สูงกว่าพื้นทราย และการวิ่งทางตรงนั้นมีการตอบสนองทางสรีรวิทยาที่สูงกว่าการเปลี่ยนทิศทาง
Description: MASTER OF SCIENCE (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/621
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601110006.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.