Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/59
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSURAT PAKNOIen
dc.contributorสุรัตน์ พักน้อยth
dc.contributor.advisorINTAKA PIRIYAKULen
dc.contributor.advisorอินทกะ พิริยะกุลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Social Sciencesen
dc.date.accessioned2019-06-14T08:58:18Z-
dc.date.available2019-06-14T08:58:18Z-
dc.date.issued21/12/2018
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/59-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the study were as follows : 1) to study the differences between the demographics of Thai Buddhists in terms of image, perceived values, satisfaction, confidence, accessibility, and loyalty factors; 2) to explore the perspectives of Thai Buddhists on factors related to image, perceived values, satisfaction, confidence, and accessibility; 3) to examine relationships between loyalty to Buddhism and factors related to image, perceived values, satisfaction, confident, and accessibility; 4) to integrate the findings into strategies for Thai Buddhist organizations. The sample size was calculated using Yamane sample calculations and four hundred respondents were collected through cluster sampling. The data was analyzed using CHAID (Chi-square Automatic Interaction Detector) and multiple regression analysis. The findings indicated the following: 1) the differences between the demographics of Thai Buddhists and related variables are 1.1) there was a significant difference in opinions toward Buddhist images between Thai Buddhists with different income levels and jobs (p < 0.05). 1.2) there was a significant difference in terms of satisfaction with Buddhism between Thai Buddhists of a different gender and with different jobs (p < 0.05). 1.3) there was a significant difference in perceived values, confident, and loyalty factors between male and female (p < 0.05). 2) In general, Thai Buddhists’ perspectives in terms of five factors including were high on the rating scale 3) There was a significant relationship in terms of loyalty toward Buddhism between image, perceived values, satisfaction, confidence, and accessibility factor (p < 0.05, r² = 0.537). 4) Support from all stakeholders in Thailand are required order to create long term stability in Thai Buddhism.en
dc.description.abstractในการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความจงรักภักดีต่อพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความแตกต่างทางประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านภาพลักษณ์ คุณค่าที่รับรู้ ความพึงพอใจ ความเชื่อมั่น ความง่ายต่อการเข้าถึง และความจงรักภักดีต่อพระพุทธศาสนา 2)  เพื่อศึกษาปัจจัยด้านภาพลักษณ์ ด้านคุณค่าที่รับรู้ ด้านความพึงพอใจ ด้านความเชื่อมั่น และด้านความง่ายต่อการเข้าถึง ในมุมมองของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านภาพลักษณ์ 2. ด้านคุณค่าที่รับรู้ 3. ด้านความพึงพอใจ 4. ด้านความเชื่อมั่น 5. ด้านความง่ายต่อการเข้าถึง ที่มีความสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดีของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย 4) เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการวางกลยุทธ์ และบริหารจัดการภายในองค์กรพระพุทธศาสนา ให้ตรงตามความต้องการของพุทธศาสนิกชน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling) และคำนวณขนาดตัวอย่าง จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน CHAID (Chi-square Automatic Interaction Detector) และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ถดถอยอย่างง่าย (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า 1) ความแตกต่างของข้อมูลด้านประชากรศาสตร์กับตัวแปรคุณภาพ 1.1) ประชากรที่มีรายได้ และอาชีพแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของพระพุทธศาสนาที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  1.2) ประชากรที่มีอาชีพ และเพศ แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  1.3)  ประชากรที่มีเพศแตกต่างกันมีความรับรู้เกี่ยวกับคุณค่าที่รับรู้ มีความเชื่อมั่น และความจงรักภักดีต่อพระพุทธศาสนาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) มุมมองของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทยเกี่ยวกับปัจจัยทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านภาพลักษณ์ 2. ด้านคุณค่าที่รับรู้ 3. ด้านความพึงพอใจ 4. ด้านความเชื่อมั่น 5. ด้านความง่ายต่อการเข้าถึง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ คุณค่าที่รับรู้ ความพึงพอใจ ความเชื่อมั่น และความง่ายต่อการเข้าถึง มีความสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดีต่อพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 โดยมีอำนาจในการทำนายหรือพยากรณ์ตัวแปรตาม ได้ 53.7% 4) องค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทะศาสนา ควรบูรณาการร่วมกันในการปรับปรุง พัฒนา เพื่อยกระดับปัจจัยทั้ง 5 ด้าน จากระดับมาก สู่มากที่สุด โดยเฉพาะปัจจัยด้านภาพลักษณ์ของศาสนาบุคคล เพื่อความมั่นคงของสถาบันพระพุทธศาสนาต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectภาพลักษณ์th
dc.subjectคุณค่าที่รับรู้th
dc.subjectความพึงพอใจth
dc.subjectความเชื่อมั่นth
dc.subjectความง่ายต่อการเข้าถึงth
dc.subjectความจงรักภักดีth
dc.subjectImagesen
dc.subjectPerceived Valuesen
dc.subjectSatisfactionen
dc.subjectConfidenten
dc.subjectAccessibilityen
dc.subjectLoyaltyen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleFACTORS RELATED TO BUDDHISM LOYALTY OF THAI BUDDHISTS en
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดีต่อพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571110094.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.