Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorVITAVAS JUMPATHONGen
dc.contributorวิทวัส จำปาทองth
dc.contributor.advisorPiyarat Doonbhunditen
dc.contributor.advisorปิยรัตน์ ดรบัณฑิตth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2020-09-11T03:47:27Z-
dc.date.available2020-09-11T03:47:27Z-
dc.date.issued30/8/2020
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/585-
dc.descriptionMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to develop STEM activity by using microfluidic paper-based analytical devices to achieve lesson efficiency and based on the efficiency criteria that seventy percent of pre-service teachers had creativity and innovation skills at good level and in comparison to the creativity and innovation skills and posttest average scores of pre-service teachers after studying with a STEM activity on an acid-base solutions topic. The target group in this study consisted of twenty-two fourth year undergraduate students in the Chemistry Education Program at Srinakharinwirot University. They were selected using the purposive sampling method. The research instruments used in this study consisted of a STEM activity that used a microfluidic paper-based analytical devices guidebook on acid-base solutions topic and a creativity and innovation skills assessment form. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, percentage, and a t-test for One Sample. The results revealed the following: (1) the STEM activity was 100 percent effective, which was higher than the set criteria; and (2) all of the pre-service teachers who studied by using this STEM activity achieved posttest average scores in creativity and innovation skills that were higher than the criteria of 70 percent at a statistically significant level of .01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ของไหลจุลภาคฐานกระดาษ เรื่อง สารละลายกรด-เบส ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ คือ นิสิตวิชาชีพครู ร้อยละ 70 มีคะแนนทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมอยู่ในระดับดีขึ้นไป และเพื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเฉลี่ยหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่อง สารละลายกรด-เบส ของนิสิตระดับปริญญาตรี กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยนี้ เป็นนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 22 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ของไหลจุลภาคฐานกระดาษ เรื่อง สารละลายกรด-เบส และแบบประเมินทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าสถิติ t-test for One Sample สามารถสรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้ (1) กิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ของไหลจุลภาคฐานกระดาษ เรื่อง สารละลายกรด-เบส มีประสิทธิภาพเท่ากับร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (2) นิสิตระดับปริญญาตรีที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ของไหลจุลภาคฐานกระดาษ เรื่อง สารละลายกรด-เบส มีคะแนนทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเฉลี่ยหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectสะเต็มศึกษาth
dc.subjectสารละลายกรด-เบสth
dc.subjectทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมth
dc.subjectนิสิตวิชาชีพครูth
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectAcid-Base Solutionsen
dc.subjectCreativity and Innovation Skillsen
dc.subjectPre-service teachersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF STEM ACTIVITY BY USING MICROFLUIDIC PAPER-BASED ANALYTICAL DEVICES ON ACID-BASE SOLUTIONS TO ENHANCE CREATIVITYAND INNOVATION SKILLS FOR PRE-SERVICE TEACHERSen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ของไหลจุลภาคฐานกระดาษเรื่อง สารละลายกรด-เบส เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมสำหรับนิสิตวิชาชีพครูth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611110184.pdf4.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.