Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWISIT ANUCHITKIATTIPOOMen
dc.contributorวิศิษฎ์ อนุชิตเกียรติภูมิth
dc.contributor.advisorThitinan Chankosonen
dc.contributor.advisorธิตินันธุ์ ชาญโกศลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Societyen
dc.date.accessioned2019-12-24T06:50:32Z-
dc.date.available2019-12-24T06:50:32Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/441-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study the factors affecting the acceptance of QR Code financial service technology at commercial banks in Thailand. The data were collected from four hundred mobile banking application users at 5 commercial banks in Thailand. A questionaire was used for data collection and the statistics for data analysis included percentage, mean and standard deviation. The statistical hypotheses testing employed a t-test, one-way analysis of variance and the Pearson correlation coefficient. The results of hypothesis testing were as follows : (1) technology users of different ages, education levels, occupations and average income levels demonstrated differences in QR Code financial service technology acceptance at a statistic ally significant level of 0.01 ; (2) the perceived risk factors consisted of financial risks and security risks had a negative reletionship with QR Code financial service technology acceptance while privacy, time , performance and social risks had a positive reletionship with the acceptance of QR Code financial services and technology acceptance. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาลักษณะประชากรศาสตร์และปัจจัยด้านการรับรู้ความเสี่ยง กับการยอมรับเทคโนโลยีบริการทางการเงินด้วยระบบ QR Code ของระบบธนาคารพาณิชย์ไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ใช้งาน Application Mobile Banking ของธนาคารชั้นนำ 5 ธนาคารที่มีการให้บริการทางการเงินด้วยระบบ QR Code จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน และใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การวิคราะห์ความแตกต่างโดยใช้ค่า Independent T-Test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สันโดยผลการทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 พบว่า 1. ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน อันได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อการยอมรับเทคโนโ,ยีบริการทางเงินด้วยระบบ QR Code แตกต่างกัน 2. ปัจจัยด้านการรับรู้ความเสี่ยงที่แตกต่างกัน อันได้แก่ การรับรู้ความเสี่ยงด้านการเงิน การรับรู้ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย การรับรู้ความเสี่ยงด้านการรักษาข้อมูลส่วนตัว การรับรู้ความเสี่ยงด้านเวลา การรับรู้ความเสี่ยงด้านประสิทธิภาพ และการรับรู้ความเสี่ยงด้านสังคม มีความสัมพันธ์ต่อการยอมรับเทคโนโลยีบริการทางการเงินด้วยระบบ QR Code แตกต่างกัน โดยในข้อการรับรู้ความเสี่ยงด้านการเงิน และการรับรู้ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการยอมรับเทคโนโลยี ส่วนปัจจัยการรับรุ้ความเสี่ยงด้านอื่นๆ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการยอมรับเทคโนโลยีth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีth
dc.subjectQR Codeth
dc.subjectบริการทางการเงินth
dc.subjectธนาคารพาณิชย์th
dc.subjectประเทศไทยth
dc.subjectAcceptanceen
dc.subjectQR Codeen
dc.subjectFinancial Servicesen
dc.subjectTechnologyen
dc.subjectCommercial Banksen
dc.subjectThailanden
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleFACTORS AFFECTING THE ACCEPTANCE OF QR CODE FINANCIAL SERVICES TECHNOLOGY AT COMMERCIAL BANKS IN THAILANDen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการยอมรับเทคโนโลยีบริการทางการเงินด้วยระบบ QR Codeของระบบธนาคารพาณิชย์ไทยth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs591130189.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.