Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/40
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPIYARAT NGAMPRADABen
dc.contributorปิยะรัตน์ งามประดับth
dc.contributor.advisorWawta Techataweewanen
dc.contributor.advisorแววตา เตชาทวีวรรณth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Humanitiesen
dc.date.accessioned2019-06-14T05:47:36Z-
dc.date.available2019-06-14T05:47:36Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/40-
dc.descriptionMASTER OF ARTS (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to compare reading attitudes and library usage among fifth grade students at Srinakharinwirot University Prasarnmit Demonstration School (Elementary) before and after attending reading promotion activities using quasi experimental research. The sample group consisted of thirty fifth-grade students in one classroom, studying in the second semester of the 2018 academic year and selected by the purposive sampling approach. The research tools included reading a questionnaire of attitudes, library usage record forms and reading promotion activity plans which consisted of the following three activities: (1) My Library; (2) This story...worth reading; and (3) Save my favorite books. The data were collected from July 2018 to February 2019. The statistics for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation and testing the hypothesis by using a dependent t-test. The results revealed that the use of reading promotion activities caused the reading attitudes of the fifth-grade students were higher than before attending activities at a statistically significant level of .05. Their library usage behavior before and after participation in the reading promotion activities were not differenten
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบเจตคติการอ่านและการใช้ห้องสมุด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดยใช้วิธีวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเจตคติการอ่าน แบบบันทึกสถิติการใช้ห้องสมุด และแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ซึ่งประกอบด้วย 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) My Library 2) เรื่องนี้สิ...น่าอ่าน และ 3) บันทึกเล่มโปรดของฉัน การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยเริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า ผลของการใช้กิจกรรม ส่งเสริมการอ่านทำให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีเจตคติการอ่านสูงกว่าก่อนการเข้าร่วม กิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนการใช้ห้องสมุดก่อนและหลังการเข้าร่วม กิจกรรมส่งเสริมการอ่านไม่แตกต่างกันth
dc.language.isoth-
dc.publisherSrinakharinwirot University-
dc.rightsSrinakharinwirot University-
dc.subjectกิจกรรมส่งเสริมการอ่านth
dc.subjectเจตคติการอ่านth
dc.subjectการใช้ห้องสมุดth
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษาth
dc.subjectReading Promotion Activitiesen
dc.subjectReading Attitudesen
dc.subjectLibrary Usageen
dc.subjectElementary Studentsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEFFECTS OF READING PROMOTION ACTIVITIES ON READING ATTITUDES AND LIBRARY USAGE AMONG FIFTH GRADE STUDENTS AT SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY PRASARNMIT DEMONSTRATION SCHOOL (ELEMENTARY)en
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่มีต่อเจตคติการอ่านและการใช้ห้องสมุดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม)th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Humanities

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130140.pdf6.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.