Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/400
Title: DEVELOPMENT OF ARCHAEOLOGICAL APPLICATIONS IN PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA WITH 3D VIRTUAL REALITY TECHNOLOGY
การพัฒนาแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ
Authors: RUWAIDA ARBEDEEN
รุวัยดา อาบีดีน
Rattapol Pradapwet
รัฐพล ประดับเวทย์
Srinakharinwirot University. Faculty of Education
Keywords: แอปพลิเคชัน
ความจริงเสมือนสามมิติ
โบราณสถาน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Applications
3D virtual reality
Archaeological sites
Phra Nakhon Si Ayutthaya
Issue Date:  19
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: This research divided the research into two phases, according to the research objectives: Phases One focused on the development and evaluation by applying of 3D virtual reality technology to ancient monuments in Phra Nakhon Si Ayutthaya.  There were 6 people to assess the quality of the research instruments. Phase Two studied the effect of using applications in monuments in Phra Nakhon Si Ayutthaya with 3D virtual reality technology. There were forty people, which were obtained the voluntary participation of trial users of the application. The researcher interviewed twenty-four people who visited the ancient monument in Phra Nakhon Si Ayutthaya. And thirteen people were interested in Thai architecture due to social media sites. Which the research found ancient applications in Phra Nakhon Si Ayutthaya with 3D virtual reality technology consisting of three elements: activity, broadcast receiver and content providers. In terms of quality level, the average value wes 3.93 and the standard deviation is 0.70. The quality evaluation from the content experts at a very high level of quality with an average value of 4.20 and a standard deviation of 0.75. The results of the study of the opinions of the users of ancient archaeological applications in Phra Nakhon Si Ayutthaya with 3D virtual reality technology had a high level of opinion, with an average of 4.18 and a standard deviation of 0.79.
การวิจัยนี้มีแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ ตามวัตถุประสงค์การวิจัย  ได้แก่ ระยะที่ 1 เพื่อการพัฒนาและประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ มีกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการหาคุณภาพของของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจำนวนทั้งหมด 6 ท่าน  และระยะที่ 2 เพื่อศึกษาผลการใช้งานแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ มีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้มาจากความสมัครใจของผู้เข้าร่วมทดลองใช้งานแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น โดยในช่วงการทดลองผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลมาจากบุคคลทั่วไปที่มาท่องเที่ยวที่โบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้จำนวน 27 คน และผู้ที่สนใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทยผ่านทางโซเชียลมีเดียอีกจำนวน 13 คน  ผลการวิจัยพบว่า (1) แอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ  ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่  (ก) Activity  (ข) Broadcast Receiver และ (ค) Content Provider  โดยผลการศึกษาคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา อยู่ในระดับมีคุณภาพมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.70  ส่วนการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมีคุณภาพมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.75  และ (2) ผลการการศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้งานแอปพลิเคชันโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนสามมิติ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79
Description: MASTER OF EDUCATION (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/400
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs571130124.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.