Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/379
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPARNNAPA CHAKORNPRADITen
dc.contributorปานนภา ชาครประดิษฐ์th
dc.contributor.advisorNattaya Praditsuwanen
dc.contributor.advisorณัฐยา ประดิษฐสุวรรณth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Societyen
dc.date.accessioned2019-12-17T02:20:56Z-
dc.date.available2019-12-17T02:20:56Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/379-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study the technology acceptance model and the lifestyle related to the determination to live in a cashless society among 400 consumers in the Bangkok metropolitan area A questionnaire was used tool to collect the data and the statistics used for data analysis included percentage mean and standard deviation. The hypotheses testing consisted of a t-test, a one-way analysis of variance, and the Pearson product moment correlation coefficient. The results of the analysis were as follows: the majority of the consumers were female, from 20 to 29 years of age, held a Bachelor's or less company employees and an average monthly income of 15,001 to 25,000 Baht. In term of assessment Technology Acceptance Model found that the factor of perceived usefulness, perceived ease of use, behavioral intention to use, the actual system and also opinions on lifestyle is the opinion use were at a very good level. Consumers of different ages, monthly income and occupation differed in terms of their determination to live in a cashless society with a statistically level significant.01. The results of the technology Acceptance Model demonstrated the role of perceived usefulness and intentions to use were correlated with determination for living in a cashless society ,similarly to the lifestyle results , with opinions at a high level and in the same direction with a statistically significant level .01. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้สังคมไร้เงินสด ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร ที่เคยใช้หรือใช้บริการธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ใช้สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง อายุ 20 – 29 ปี มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี และปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท ความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยี ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์การใช้งาน การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน การตั้งใจในการใช้งาน และการใช้งานจริง อยู่ในระดับดีมาก ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการดำเนินชีวิต ด้านความคิดเห็น อยู่ในระดับดีมาก ส่วนด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับดี ผู้บริโภคที่มีอายุ รายได้ต่อเดือน และอาชีพ แตกต่างกันมีการตัดสินใจใช้สังคมไร้เงินสดที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การยอมรับเทคโนโลยี ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์การใช้งาน และความตั้งใจในการใช้งาน มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้สังคมไร้เงินสด โดยมีความสัมพันธ์ในระดับสูงทิศทางเดียวกัน  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 รูปแบบการดำเนินชีวิต ด้านความคิดเห็น มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้สังคมไร้เงินสดมีความสัมพันธ์ในระดับสูงทิศทางเดียวกัน  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectสังคมไร้เงินสดth
dc.subjectผู้บริโภคth
dc.subjectเขตกรุงเทพมหานครth
dc.subjectCashless Societyen
dc.subjectConsumeren
dc.subjectBangkok Metropolitan Areaen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleDETERMINATION TO LIVE IN A CASHLESS SOCIETY AMONG OF CONSUMERS IN THE BANGKOK METROPOLITAN AREAen
dc.titleการตัดสินใจใช้สังคมไร้เงินสดของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร th
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130343.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.