Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNATAKARN TANGAMORNSUKSANen
dc.contributorนตกาล ตั้งอมรสุขสันต์th
dc.contributor.advisorAtchareeya Saknarongen
dc.contributor.advisorอัจฉรียา ศักดิ์นรงค์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot University. Faculty of Business Administration for Societyen
dc.date.accessioned2019-12-17T02:20:56Z-
dc.date.available2019-12-17T02:20:56Z-
dc.date.issued19/7/2019
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/378-
dc.descriptionMASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to study the factors of cognition and lifestyle that influenced to the Smile Point service usage behavior of four hundred members of the Muang Thai Smile Club members by Muang Thai Life Assurance In Bangkok metropolitan area who collected the Smile Points in order to participate in various activities of Muang Thai Smile Club by using questionnaires as a tool to collect the information. The statistics for data analysis were in terms of percentage, mean and standard deviation. The statistical hypotheses testing employed a t-test, a one way analysis of variance and the multiple regression analysis.                                                                                         The results of the hypothesis test were revealed as follows: Muang Thai Smile Club member by Muang Thai Life assurance in the Bangkok metropolitan area of different ages, occupations, monthly income level, status and ranked membership in Muang Thai Smile Club had different behavior in terms of using the average amount of Smile Point points to redeem reward (points/times) at a statistically significant level of 0.01.The difference in term of monthly income and status revealed had different behavior of using the average amount of Smile Point points to be redeemed reward (points/times) at a statistically significant level of 0.01 and 0.05, Furthermore, lifestyles in terms of activities and opinions were negatively affected in term of behavior of using an average amount of Smile Points to be redeemed for rewards (points/times) at statistically significant levels of 0.01 and 0.05, respectively. The factors of lifestyles in terms of interests positively affected the behavior of using the average amount of Smile Points to the number of Muang Thai Smile Club activities in terms of participation (times) at a statistically significant level of 0.01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจ และรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสม Smile Point ของสมาชิกเมืองไทย Smile Club บมจ. เมืองไทยประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สมาชิกเมืองไทย Smile Club จำนวน 400 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการหาค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสถิติการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ                                          ผลการวิจัยพบว่า สมาชิกเมืองไทย Smile Club ที่มีอายุ อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน สถานภาพ และประเภทบัตรสมาชิกแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสม Smile Point ด้านจำนวนคะแนนสะสม Smile Point โดยเฉลี่ยที่ใช้แลก (คะแนน/ครั้ง) แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สมาชิกเมืองไทย Smile Club ที่มีเพศ อายุ อาชีพ การศึกษา และประเภทบัตรสมาชิกแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสม Smile Point ด้านจำนวนกิจกรรมของเมืองไทย Smile club ที่เข้าร่วม (ครั้ง)แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ สมาชิกเมืองไทย Smile Club ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคะแนนสะสม Smile Point แตกต่างกันมีพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสม Smile Point ทั้งด้านจำนวนคะแนนสะสม Smile Point โดยเฉลี่ยที่ใช้แลก (คะแนน/ครั้ง) และด้านจำนวนกิจกรรมของเมืองไทย Smile club ที่เข้าร่วม (ครั้ง) แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รูปแบบการดำเนินชีวิตด้านกิจกรรม และด้านความคิดเห็น มีผลต่อพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสม Smile Point ด้านจำนวนคะแนนสะสม Smile Point โดยเฉลี่ยที่ใช้แลก (คะแนน/ครั้ง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับในทิศทางตรงกันข้าม ส่วนรูปแบบการดำเนินชีวิตด้านความสนใจ มีผลต่อพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสม Smile Point ด้านจำนวนกิจกรรมของเมืองไทย Smile club ที่เข้าร่วม (ครั้ง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในทิศทางเดียวกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectรูปแบบการดำเนินชีวิตth
dc.subjectความรู้ความเข้าใจth
dc.subjectเมืองไทย Smile Clubth
dc.subjectสมาชิกth
dc.subjectพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสมth
dc.subjectLifestyleen
dc.subjectCognitionen
dc.subjectMuang Thai Smile Cluben
dc.subjectMembersen
dc.subjectService usage behavioren
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleCOGNITIVE AND LIFESTYLE INFLUENCING TO SMILE POINT SERVICE USAGE BEHAVIOR OF MUANG THAI SMILE CLUB MEMBER BY MUANG THAI LIFE ASSURANCE IN BANGKOK METROPOLITAN AREAen
dc.titleความรู้ความเข้าใจ และรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้คะแนนสะสมSmile Point ของสมาชิกเมืองไทย Smile Club บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeMaster’s Projecten
dc.typeสารนิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Business administration for society

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601130339.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.