Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/3125
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMANTHANA CHAENGKRACHANGen
dc.contributorมัณฑนา แจ้งกระจ่างth
dc.contributor.advisorChaninan Pruekpramoolen
dc.contributor.advisorชนินันท์ พฤกษ์ประมูลth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2025-05-14T06:49:11Z-
dc.date.available2025-05-14T06:49:11Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued19/7/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/3125-
dc.description.abstractThis aims of this study are as follows: (1) to examine the development of scientific creativity among third-grade students through the implementation of STEAM education; and (2) to investigate the effects of using STEAM education on the science learning achievement of third-grade students. The samples were 30 third-grade students from the second semester of the 2023 academic year at a demonstration school in Bangkok and selected through cluster sampling. This research was a pre-experimental design, specifically the one-group pre-post-test design. The research instruments used in this study were as follows: (1) science lesson plans on the topic of "Energy on Our Planet" utilizing STEAM education; (2) scientific creativity tests; and (3) a science learning achievement test. The data were analyzed using mean, standard deviation, frequency, and percentage to summarize the overall levels of scientific creativity before and after learning. A t-test for dependent samples was employed to test the statistical significance. The overall mean score on scientific creativity after learning with STEAM education (M = 16.80, S.D. = 3.74) was higher than before learning (M = 9.96, S.D. = 3.06) at a.05 level of statistical significance (t = 9.69, p =.001). The three components of scientific creativity included (1) fluency: fluency scores significantly improved, with the highest proportion of students at the beginning level (66.67%); (2) flexibility: the students showed the highest proportion at the beginning level (40%); and (3) originality: the majority of students were at the intermediate level (36.67%). Science learning achievement post-test mean score (M = 21.00, S.D. = 1.47) significantly increased, representing 70% of the total score, and higher than the pre-test one (M = 12.30., S.D. = 3.11)  with a statistical significance of .05 level (t = 11.82, p =.001).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จากการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาและ 2) ศึกษาผลการใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนสาธิตแห่งหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตธนบุรี จำนวน 30 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้นแบบ One group pretest – posttest design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง พลังงานบนโลกของเรา โดยการใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวสะตีมศึกษา 2) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และ 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่และร้อยละของภาพรวมจำนวนนักเรียนตามระดับ  ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ทั้งก่อนและหลังเรียน และสถิติการทดสอบค่าทีแบบสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์โดยภาพรวมหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะตีมศึกษาหลังเรียน (M = 16.80, S.D. = 3.74) สูงกว่าก่อนเรียน (M = 9.96, S.D. = 3.06) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 9.69, p = .001) และเมื่อพิจารณาแยกองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้ง 3 องค์ประกอบสูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย 1) องค์ประกอบความคิดคล่องแคล่วนักเรียนมีพัฒนาการที่ระดับต้นมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 66.6  2) องค์ประกอบความคิดยืดหยุ่น นักเรียนนักเรียนมีพัฒนาการระดับต้นมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40 และ 3) องค์ประกอบความคิดริเริ่ม นักเรียนมีพัฒนาการระดับกลางมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 36.67 และนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะตีมศึกษา (M = 21.00., S.D. = 1.14)  คิดเป็นร้อยละ 70 และสูงกว่าก่อนเรียน (M = 12.30., S.D. = 3.11) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 11.82, p = .001) ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์, สะตีมศึกษา, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectScientific creativityen
dc.subjectSTEAM educationen
dc.subjectLearning achievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE EFFECTS OF STEAM EDUCATION ON SCIENTIFIC CREATIVITY AND SCIENCE LEARNING ACHIEVEMENT OF GRADE 3 STUDENTSen
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะตีมศึกษาต่อความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChaninan Pruekpramoolen
dc.contributor.coadvisorชนินันท์ พฤกษ์ประมูลth
dc.contributor.emailadvisorchaninan@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchaninan@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130100.pdf8.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.