Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJANJIRA WANGWANen
dc.contributorเจนจิรา แวงวรรณth
dc.contributor.advisorDusadee Intrapraserten
dc.contributor.advisorดุษฎี อินทรประเสริฐth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T06:43:54Z-
dc.date.available2024-07-11T06:43:54Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2943-
dc.description.abstractThis mixed methods research aims to sequentially study the following: (1) the meaning, characteristics, and conditions of gratitude; and (2) the effects of CBM Program using the Yonisomanasikara principle and value clarification to promote gratitude among high school students. The study two phases. A qualitative research methodology was employed, utilizing semi-structured interviews to collect the data and 10 high school students from a Buddhist temple school were selected as the key informants for this study. The data is examined using a grounded theoretical framework. The research findings revealed that gratitude refers to the emotional state that occurs when a person recognizes that the benefits are the result of thoughtful behavior of others, and that motivates people to have the intention to reciprocate and reciprocation towards benefactors. Gratitude has two characteristics: the emotion and behavior of gratitude. The study identifies external and internal factors as influencing gratitude development among high school students. External factors encompass the family, school, and societal environment, while internal factors consisted of valuing received benefits, empathy and compassion, desire to reciprocate, and recognition of the cost to benefactors. The meaning of gratitude was used to create a gratitude measurement scale, with a total reliability of .89.  The conditions of gratitude used to develop CBM program to promote gratitude were adopted in the second phase, which was an experimental study. The sample consisted of 45 high school students, divided into two groups: an experimental group of 20 people and a control group of 25 people. The results of multivariate analysis of covariance (MANCOVA) showed that the experimental group had gratitude in both emotional and behavioral gratitude in the post-test phase higher than the control group at a statistically significant level of .05.  The results of the Paired-Sample T-test showed that behavior gratitude of the experimental group in post-test higher than in the pre-test, at a statistically significant level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความหมาย ลักษณะ และเงื่อนไขของความกตัญญูกตเวที 2) ศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างความกตัญญูกตเวทีโดยปรับพฤติกรรมปัญญาด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการและกระบวนการกระจ่างค่านิยมสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการวิจัยผสานวิธีดำเนินการวิจัย 2 ระยะ การวิจัยระยะที่ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาจำนวน 10 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาตามแนวทางการวิจัยรูปแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล  ผลการศึกษาพบว่า ความกตัญญูกตเวที หมายถึง สภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลตระหนักรู้คุณประโยชน์ของสิ่งที่ตนได้รับนั้นเป็นผลจากการกระทำอันมีน้ำใจของผู้อื่น และอารมณ์นั้นกระตุ้นบุคคลให้มีความตั้งใจจะตอบแทนและแสดงการกระทำตอบแทนคุณต่อผู้มีบุญุคุณ ความกตัญญูกตเวทีมี 2 ลักษณะ คือ อารมณ์และพฤติกรรมการแสดงความกตัญญูกตเวที ส่วนเงื่อนไขของความกตัญญูกตเวที มี 2 ส่วน คือ เงื่อนไขภายนอกและเงื่อนไขภายใน  เงื่อนไขภายนอก ได้แก่ สิ่งแวดล้อมภายในครอบครัว โรงเรียนและสังคม เงื่อนไขภายใน ได้แก่ 1) การตระหนักรู้คุณค่าของสิ่งที่ได้รับ 2) การตระหนักรู้ในความห่วงใยเอาใจใส่ 3) การตระหนักรู้ในความตั้งใจช่วยเหลือของผู้มีบุญคุณ และ 4) การตระหนักรู้ในความเสียสละของผู้มีบุญคุณ ข้อค้นพบเกี่ยวกับความหมายของความกตัญญูกตเวทีได้นำมาสร้างแบบวัดความกตัญญูกตเวทีซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .89  และเงื่อนไขของความกตัญญูกตเวทีถูกนำมาสร้างโปรแกรมเสริมสร้างความกตัญญูกตเวที ในการวิจัยระยะที่ 2 ซึ่งการวิจัยเชิงทดลอง มีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 45 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 25 คน ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมหลายตัวแปร (MANCOVA) พบว่า กลุ่มทดลองมีความกตัญญูกตเวทีทั้งด้านอารมณ์และพฤติกรรมในระยะหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  นอกจากนี้จากผลการวิเคราะห์ Paired-Sample T-test พบว่ากลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการแสดงความกตัญญูกตเวทีระยะหลังการทดลองสูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectกตัญญูกตเวทีth
dc.subjectการปรับพฤติกรรมปัญญาth
dc.subjectโยนิโสมนสิการth
dc.subjectกระบวนการกระจ่างค่านิยมth
dc.subjectGratitudeen
dc.subjectCognitive Behavior Modificationen
dc.subjectYonisomanasikaraen
dc.subjectValue Clarificationen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleEFFECTIVENESS OF CBM PROGRAM ON PROMOTING HIGH SCHOOL STUDENTS GRATITUDE USING YONISOMANASIKĀRA PRINCIPLE AND VALUE CLARIFICATION: A MIXED METHODS RESEARCHen
dc.titleผลของโปรแกรมเสริมสร้างความกตัญญูกตเวทีโดยปรับพฤติกรรมปัญญาด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการและกระบวนการกระจ่างค่านิยมสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย: การวิจัยผสานวิธีth
dc.typeDissertationen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorDusadee Intrapraserten
dc.contributor.coadvisorดุษฎี อินทรประเสริฐth
dc.contributor.emailadvisordusadee@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisordusadee@swu.ac.th
dc.description.degreenameDOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Institute of Research in Behavioral Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611150029.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.