Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2929
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNAPHASORN KRIBUTRAen
dc.contributorนภสร ใครบุตรth
dc.contributor.advisorChinalai Piyachonen
dc.contributor.advisorชินาลัย ปิยะชนth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T06:38:45Z-
dc.date.available2024-07-11T06:38:45Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2929-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to compare the efficacy of three different supplementary cleaning techniques, between conventional syringe irrigation, passive ultrasonic irrigation with Irrisafe, and XP-endo Finisher R, in reducing the residual volume of gutta-percha from oval root canals. The 36 (n=12) human mandibular premolars were instrumented and obturated with gutta-percha and AH plus sealer, using the warm vertical condensation technique. The Protaper Next system was used to treat and retreat those samples. Then, the specimens were randomly assigned into three groups. Periapical radiographs were taken, before and after supplementary cleaning of both the Bucco-lingual and Proximal view of the model. The residual volumes of filling material were quantified using the radiographic images through ImageJ programs. The data of gutta-percha removal were statistically analyzed by One-Way ANOVA and Sidak Dunn tests, with the level of significance set to pen
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการล้างคลองรากฟันเสริมในการกำจัดกัตตาเปอร์ชาที่หลงเหลือในคลองรากฟันรูปวงรี ภายหลังการรื้อด้วยไฟล์นิกเกิลไทเทเนียมโปรเทเปอร์เน็กซ์ ทำการล้างคลองรากฟันด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งต่อไปนี้ ล้างร่วมกับใช้ไฟล์เอ็กซ์พีเอ็นโดฟินิชเชอร์อาร์ อัลตราโซนิกแบบไร้แรงเออริเซฟ และการใช้เข็มล้างปกติ ทำการศึกษาในฟันกรามน้อยล่างของมนุษย์ที่ถูกถอนที่มีคลองรากฟันรูปวงรี จำนวน 36 ซี่ ทำการเตรียมคลองรากฟันและอุดคลองรากฟันด้วยกัตตาเปอร์ชาแท่งหลักร่วมกับซีลเลอร์เอเอชพลัสด้วยวิธีวอร์มเวอติคัลคอนเดนเซชันเก็บชิ้นงานเป็นเวลา 7 วัน แล้วจึงรื้อกัตตาเปอร์ชาออกจากคลองรากฟันด้วยด้วยไฟล์นิกเกิลไทเทเนียมโปรเทเปอร์เน็กซ์ จากนั้นสุ่มชิ้นงานเข้ากลุ่มทดลอง 3 กลุ่ม (กลุ่มละ 12 ซี่) ถ่ายภาพรังสีด้านแก้ม-ลิ้น และด้านใกล้กลาง-ไกลกลางของแบบจำลอง ก่อนและหลังการล้างคลองรากฟันเสริม วัดปริมาณกัตตาเปอร์ชาที่ลดลงในภาพรังสีโดยใช้โปรแกรมอิมเมจเจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยการทดสอบดันน์ซีแดค ผลการศึกษาพบว่า ที่ระดับใกล้ปลายรากฟันกลุ่มเอ็กซ์พีเอ็นโดฟินิชเชอร์อาร์มีพื้นที่กัตตาเปอร์ชาที่หลงเหลือลดลงมากกว่ากลุ่มอัลตราโซนิกแบบไร้แรงเออริเซฟและการใช้เข็มล้างปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(Pth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectเอ็กซ์พีเอ็นโดฟินิชเชอร์อาร์th
dc.subjectโปรเทเปอร์เน็กซ์th
dc.subjectการรักษาคลองรากฟันซ้ำth
dc.subjectการรื้อกัตตาเปอร์ชาth
dc.subjectคลองรากฟันรูปวงรีth
dc.subjectXP-endo Finisher Ren
dc.subjectProtaper Nexten
dc.subjectRoot canal retreatmenten
dc.subjectGutta-percha removalen
dc.subjectOvoid root canalsen
dc.subject.classificationDentistryen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.titleEFFECTIVENESS OF XP-ENDO FINISHER R AS A SUPPLEMENT TO PROTAPER NEXT IN GUTTA-PERCHA REMOVAL FROM THE OVOID ROOT CANALSen
dc.titleประสิทธิภาพของเอ็กซ์พีเอ็นโดฟินิชเชอร์อาร์เมื่อใช้ร่วมกับโปรเทเปอร์เน็กซ์ในการรื้อกัตตาเปอร์ชาออกจากคลองรากฟันรูปวงรีth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChinalai Piyachonen
dc.contributor.coadvisorชินาลัย ปิยะชนth
dc.contributor.emailadvisorchinalai@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchinalai@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF SCIENCE (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Dentistry

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631110049.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.