Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNITCHAKAN ORACHORNen
dc.contributorณิชกานต์ อรชรth
dc.contributor.advisorRungarunRojruttanadumrong Chaisrien
dc.contributor.advisorรุ่งอรุณโรจน์รัตนาดำรง ไชยศรีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T03:53:51Z-
dc.date.available2024-07-11T03:53:51Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2844-
dc.description.abstractThe purposes of this research were as follows: (1) to compare the Thai sentence structure learning achievement of Mathayomsuksa Two students using the collaborative learning using TAI technique with TGT technique before and after learning; (2) to compare the Thai sentence structure learning achievement of Mattayomsuksa Two students using collaborative learning using TAI technique with TGT technique and normal teaching; and (3) to study the satisfaction of Mattayomsuksa Two students using cooperative learning approach. The samples in this study were two classrooms of Mattayomsuksa Two students at Triamudomsuksapattanakarn Pranburi School. The research instruments included the following: (1) lesson plans for Thai sentence structure using collaborative learning with the TAI technique and the TGT technique; (2) lesson plans for Thai sentence structure using a traditional approach; (3) a Thai sentence structure achievement test; and (4) a satisfaction questionnaire for Mattayomsuksa Two students using cooperative learning approach. The data were analyzed by the statistical means of Mean (X), Standard Deviation (SD), an independent t-test and a dependent test. The results revealed the following: (1) Thai sentence structure learning achievement of Mattayomsuksa Two students using collaborative learning with TAI technique with TGT technique posttest was significantly higher ;than the pretest at a level of .05; (2) Thai sentence structure learning achievement of Mattayomsuksa Two students using collaborative learning with TAI technique with TGT technique was significantly higher than using a normal teaching at a level of .05; and (3) Mattayomsuksa Two students were satisfied with collaborative learning using the TAI technique, with the TGT technique at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประโยคในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT ก่อนเรียนและหลังเรียน  2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประโยคในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT กับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 2  ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประโยคในภาษาไทย โดยใช้การเรียนรูปแบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT 2) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประโยคในภาษาไทย โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง ประโยคในภาษาไทย 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T – Test Independent และ ค่า T – Test Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประโยคในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประโยคในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือth
dc.subjectเทคนิค TAIth
dc.subjectเทคนิค TGTth
dc.subjectประโยคในภาษาไทยth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectการศึกษาความพึงพอใจth
dc.subjectcollaborative learningen
dc.subjectTAI techniqueen
dc.subjectTGT techniqueen
dc.subjectThai sentence structureen
dc.subjectachievementen
dc.subjectstudy satisfactionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE EFFECTS OF COLLABORATIVE LEARNING USING TAI TECHNIQUE WITH TGT TECHNIQUE ON THAI SENTENCE STRUCTURE LEARNING ACHIEVEMENT AND SATISFACTION OF MATTAYOMSUKSA TWO STUDENTSen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TAI ร่วมกับเทคนิค TGT เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประโยคในภาษาไทย และความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorRungarunRojruttanadumrong Chaisrien
dc.contributor.coadvisorรุ่งอรุณโรจน์รัตนาดำรง ไชยศรีth
dc.contributor.emailadvisorrungarun@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorrungarun@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Curriculum And Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130054.pdf9.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.