Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2828
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SIRILUCK PEEPATHUM | en |
dc.contributor | ศิริลักษณ์ ปีปทุม | th |
dc.contributor.advisor | Nartanong Nambuddee | en |
dc.contributor.advisor | นาฏอนงค์ นามบุดดี | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-11T03:31:27Z | - |
dc.date.available | 2024-07-11T03:31:27Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 24/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2828 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study the factors affecting the consumer behavior of using food delivery applications in the new normal after the COVID-19 crisis. The sample in this research consisted of four hundred consumers who using food delivery applications in the new normal after the COVID-19 crisis in the Bangkok metropolitan area. The statistics for data analysis included percentage, mean, standard deviation, a t-test and one-way analysis of variance and multiple regression analysis. The results of the hypothesis testing were that people with different occupations had different behaviors of using food delivery applications in the new normal after the COVID-19 at a statistically significant level of 0.05. The marketing mix includes product, price, place, and promotion were related to the decision behaviors of using food delivery applications in the new normal after the COVID-19 crisis at a statistically significant level of 0.05. The service quality aspect includes reliability, responsiveness, assurance, and empathy were related to decision-making behaviors of using food delivery applications in the new normal after the COVID-19 crisis at a statistically significant level of 0.05, and technology acceptance including perceived usefulness and perceived ease of use were related to decision-making behaviors using food delivery applications in the new normal after the COVID-19 at a crisis statistically significant level of 0.05. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มุ่งหมายเพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีส่งผลต่อการใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19 ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการหรือเคยใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19 ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เป็นการเปรียบเทียบเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการหาค่าที สถิติการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน ผู้บริโภคที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการขาย มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19 ด้านคุณภาพการบริการ ได้แก่ ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า และด้านการรู้จักและเข้าใจลูกค้า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และด้านการยอมรับเทคโนโลยี ได้แก่ ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ และด้านการรับรู้ความง่ายการใช้งาน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ส่วนประสมทางการตลาด | th |
dc.subject | คุณภาพการบริการ | th |
dc.subject | การยอมรับเทคโนโลยี | th |
dc.subject | แอพพลิเคชัน | th |
dc.subject | Marketing mix | en |
dc.subject | Service quality | en |
dc.subject | Technology acceptance | en |
dc.subject | application | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.subject.classification | Marketing and advertising | en |
dc.title | FACTORS AFFECTING THE CONSUMER BEHAVIOR OF USING FOOD DELIVERY APPLICATIONS IN THE NEW NORMAL AFTER THE COVID-19 CRISIS. | en |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอพพลิเคชันของผู้บริโภคในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่หลังวิกฤตโควิด-19 | th |
dc.type | Master’s Project | en |
dc.type | สารนิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nartanong Nambuddee | en |
dc.contributor.coadvisor | นาฏอนงค์ นามบุดดี | th |
dc.contributor.emailadvisor | nartanong@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | nartanong@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION (M.B.A.) | en |
dc.description.degreename | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Faculty of Business administration for society |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs651160454.pdf | 4.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.