Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/281
Title: | DEVELOPMENT OF INTERESTING ENVIRONMENT TRAINING PACKAGES
ENHANCE THE ENVIRONMENTAL AWARENESS OF PRIMARY STUDENTS การพัฒนาชุดฝึกอบรมสิ่งแวดล้อมน่ารู้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ต่อ สิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา |
Authors: | LINDA KARNPUKDEE ลินดา การภักดี Siriwan Sripahol สิริวรรณ ศรีพหล Srinakharinwirot University. INSTITUTE OF RESEARCH IN BEHAVIORAL SCIENCE |
Keywords: | ชุดฝึกอบรม ความตระหนักรู้ นักเรียนชั้นประถมศึกษา Interesting Environment Training Packages Environmental Awareness Primary Students |
Issue Date: | 19 |
Publisher: | Srinakharinwirot University |
Abstract: | The purpose of this research is to develop environmental training packages in order to increase the basic environmental knowledge of elementary students by using an 80/80 efficiency criterion. The method of evaluation included the following : 1) Five Environmental training packages designed for elementary students ; 2) Two key performance index (KPI) 2.1; a pre-test and a post-test on understanding and awareness of the environment among elementary students; 2.2; Questionnaire on environmental awareness and understanding with sample group is thirty elementary school students currently studying in the second semester of Grade 5, in the 2018 academic year at Satit Prasarnmitr Demonstration school (Elementary) in Bangkok. The statistics used in this research used to analyze the data included: Efficiency of process (E1), Efficiency of product (E2), Percentage, Average, Standard deviation (S.D.) and T- Score. The result of the research were as follows:(1) training packages to raise environmental awareness and to understand efficiency processes at 86.49 and efficiency of product at 88.44, which exceeded the 80/80 criteria ; (2) achievement on the post-test was statistically significant from the pre-test by .05, and with a 4.63 average, a standard deviation of 0.43 and the students had the most awareness of environmental knowledge;(3) after tracking the results from different schools, with one hundred and fifty students in the experiment, the results showed that their level of environmental literacy was higher at a after taking the kits at a level of 0.05 and the highest level of environmental awareness had on average of 4.40 and a standard deviation of 0.43. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1)เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรมสิ่งแวดล้อมน่ารู้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โดยใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพ80/80 2) เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดฝึกอบรมสิ่งแวดล้อมน่ารู้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5และ3)เพื่อขยายผลการใช้การพัฒนาชุดฝึกอบรมสิ่งแวดล้อมน่ารู้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5ในสถานศึกษาอื่นๆ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย1)คู่มือและชุดฝึกอบรมสิ่งแวดล้อมน่ารู้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน 5 หน่วย 2) แบบวัดจำนวน 2 ฉบับ ได้แก่2.1แบบวัดความรู้ความเข้าใจก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกอบรม2.2แบบวัดความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2561ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร(ฝ่ายประถม)จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าประสิทธิภาพของของกระบวนการ(E1)ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์(E2)ค่าร้อยละ(Percentage)ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า1)ชุดฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน 5 หน่วย มีประสิทธิภาพด้านกระบวนการ 86.49 และมีประสิทธิภาพด้านผลผลิต 88.44 เป็นไปตามเกณฑ์ E1/ E2ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 2)ผลการเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังการฝึกอบรมพบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อมสูงกว่าก่อนอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05และผลการทดสอบวัดความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ4.63ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.43 3) ผลการติดตามขยายผลวัดความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังการฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมในสถานศึกษาอื่นๆจำนวน150คนพบว่านักเรียนมีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมสูงกว่าก่อนอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการทดสอบวัดความตระหนักรู้ต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 4.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.43 |
Description: | DOCTOR OF PHILOSOPHY (Ph.D.) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) |
URI: | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/281 |
Appears in Collections: | Institute of Research in Behavioral Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs561150078.pdf | 9.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.