Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKHANARAK KITPRASOETen
dc.contributorคณารักษ์ กิจประเสริฐth
dc.contributor.advisorNavara Seeteeen
dc.contributor.advisorณวรา สีทีth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-07-11T03:12:58Z-
dc.date.available2024-07-11T03:12:58Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2748-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study the scientific literacy and academic achievement of students after learning with argument-driven inquiry (ADI) learning model, as well as the key processes to promote scientific literacy of DNA technology. This study was carried out using mixed-method research. The samples consisted of 40 10th grade students in the science-mathematics class from a school in Nakhon Prathom province. They were obtained by convenience sampling. The research instruments were four ADI lesson plans, academic achievement test, scientific literacy tests, teaching observation form, a teacher’s note, and a student worksheet. The data were analyzed quantitatively using percentage, mean, standard deviation, and a one-sample t-test. The qualitative data were analyzed using inductive analysis. The results found that the scientific literacy of the students’ was at a level of 5. The number of students who had scientific literacy at a level of 3 and above was 100%, statistically significantly higher than the criteria of 70% at a level of .05. The average scores of student academic achievement was 83%, statistically significantly higher than the criteria of 70% at a level of .05. The key processes that promote scientific literacy were comprised 10 elements, including stimulating real-life situations, motivating with guiding questions and clear tasks, designing the inquiry process, creating temporary arguments collaboratively, engaging in debates between groups, reflecting on their concepts and investigations, writing individual reports, evaluating peers' report, reviewing on their own scientific explanations, and editing and improving their own scientific explanations.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง รวมถึงกระบวนการสำคัญที่ช่วยส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์เรื่อง เทคโนโลยีดีเอ็นเอ ด้วยการวิจัยผสานวิธี กลุ่มที่ศึกษาคือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์–คณิตศาสตร์ ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบบสังเกตการสอน แบบบันทึกหลังสอน และใบกิจกรรมของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และสถิติทดสอบค่าทีสำหรับกลุ่มตัวอย่างเดียว วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยภาพรวมอยู่ที่ระดับ 5 จำนวนนักเรียนที่มีความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ระดับ 3 ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กระบวนการสำคัญที่ช่วยส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมี 10 ประการ ได้แก่ การกระตุ้นด้วยสถานการณ์ในชีวิตจริง การกระตุ้นด้วยคำถามนำและภาระงานที่ชัดเจน การออกแบบกระบวนการสืบเสาะ การสร้างข้อโต้แย้งชั่วคราวร่วมกัน การทำกิจกรรมการโต้แย้งระหว่างกลุ่ม การสะท้อนคิดเกี่ยวกับแนวคิดและการสำรวจตรวจสอบ การเขียนรายงานเป็นรายบุคคล การประเมินรายงานของเพื่อน การทบทวนคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของตนเอง และการแก้ไขปรับปรุงคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของตนเองth
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectเทคโนโลยีดีเอ็นเอth
dc.subjectนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งth
dc.subjectScientific literacyen
dc.subjectDNA technologyen
dc.subjectgrade 10 studenten
dc.subjectAcademic achievementen
dc.subjectArgument-Driven Inquiry model (ADI)en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE EFFECTS OF ARGUMENT-DRIVEN INQUIRY LEARNING MODEL ON  GRADE 10 STUDENTS' SCIENTIFIC LITERACY AND LEARNING ACHIEVEMENT IN THE TOPIC OF DNA TECHNOLOGYen
dc.titleผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งที่มีต่อความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง เทคโนโลยีดีเอ็นเอ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNavara Seeteeen
dc.contributor.coadvisorณวรา สีทีth
dc.contributor.emailadvisorsuwapid@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsuwapid@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130337.pdf8.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.