Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSUPACHAI PINMANEEen
dc.contributorสุภชัย ปิ่นมณีth
dc.contributor.advisorGumpanat Boriboonen
dc.contributor.advisorกัมปนาท บริบูรณ์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2024-01-15T01:25:29Z-
dc.date.available2024-01-15T01:25:29Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued15/12/2023
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2634-
dc.description.abstractThe aims of this study are as follows: (1) to develop a geography learning activities using scenario-based learning enhancing map creation skills and spatial thinking skills for high school students; and (2) to investigate the effectiveness of this activity in geography learning activities using scenario-based learning enhancing map creation skills and spatial thinking skills for high school students. The sample in this study included 35 high school students from Wat Raja-O-Ros school, during the second semester of the 2022 academic year. They were chosen through cluster sampling. The instrument of this study consisted of 6 activity plans based on the scenario-based learning, a multiple-choice 20-item mapping creation skills and spatial thinking skills assessment, and open-ended questions in a 5-item mapping creation skills and spatial thinking skills assessment. The data analysis used the mean, standard deflection, a t-test for dependent sample, and one-way repeated measures MANOVA.  The results of the were as follows: (1) there were 3 steps to the geography learning activities using scenario-based learning as follows: 1) Problem formulation step; 2) Scene or situation; and 3) Stage of reflection on learning outcomes, and the development of map-making skills and spatial thinking skills resulting from geography learning activities using scenario-based learning of high school students has improved performance at a higher level. When comparing learning management with repeated measures 6 times, statistical significance was .05. The focus of all stages was the student's analysis of the primary evidence. The activities used had been evaluated by experts as good (Mean = 3.67-4.67, S.D. = 0.00-0.58); (2) the developed activities effectively developed map creation skills and spatial thinking skills for high school students, which are higher than previous use, as evidenced by statistically significant improvements at .05en
dc.description.abstractวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานที่ส่งผลต่อทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของการจัดสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานที่ส่งผลต่อทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดราชโอรส ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบการสุ่มแบบกลุ่มตัวอย่าง (Cluster Sampling) จำนวนนักเรียน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานที่ส่งผลต่อทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่ 6 แผน แบบวัดทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่แบบปรนัยก่อนและหลังการจัดการจัดการเรียนรู้ จำนวน 20 ข้อ และแบบวัดทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่แบบอัตนัยระหว่างเรียน ฉบับละ 5 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยที่กลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน (t-test for Dependent Sample) การวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรพหุนามแบบวัดซ้ำ (One-Way Repeated Measures MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานมี 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการกำหนดปัญหา 2) ขั้นฉากทัศน์หรือสถานการณ์ และ 3) ขั้นการสะท้อนผลการเรียนรู้ (2) ประสิทธิผลของการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานหลังใช้กิจกรรมการเรียนรู้ส่งผลต่อทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่หลังได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรพหุนามแบบวัดซ้ำพบว่า ทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเพิ่มขึ้นทุกครั้งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectฉากทัศน์เป็นฐานth
dc.subjectทักษะการคิดเชิงพื้นที่th
dc.subjectทักษะการสร้างแผนที่th
dc.subjectScenario-based Learningen
dc.subjectSpatial Thinking Skillsen
dc.subjectMap Creation Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleEFFECT OF GEOGRAPHY LEARNING ACTIVITIES USING SCENARIO-BASED LEARNING ENHANCING MAP CREATION SKILLS AND SPATIAL THINKING SKILLS FOR HIGH SCHOOL STUDENTSen
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ด้วยแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ฉากทัศน์เป็นฐานที่ส่งผลต่อทักษะการสร้างแผนที่และทักษะการคิดเชิงพื้นที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorGumpanat Boriboonen
dc.contributor.coadvisorกัมปนาท บริบูรณ์th
dc.contributor.emailadvisorgumpanat@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorgumpanat@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Curriculum And Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130300.pdf8.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.