Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNATWADEE PLOYDEEen
dc.contributorณัฐวดี พลอยดีth
dc.contributor.advisorThanma Laipaten
dc.contributor.advisorธัญมา หลายพัฒน์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-10-18T03:13:15Z-
dc.date.available2023-10-18T03:13:15Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued21/7/2023
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2535-
dc.description.abstractThe objectives of the study are as follows: (1) to study health education learning management using Phenomenon-Based Learning with the R-C-A questioning techniques on sexual risk behaviors among Grade Six students in both onsite and online learning; (2) to compare the achievement of health education learning management using Phenomenon-Based Learning with R-C-A questioning techniques on sexual risk behaviors between on-site and online learning of Grade Six students. The sample of study were drawn from two classes of Grade Six at Prasarnmit Demonstration School (Elementary) during the 2022 academic year and using the purposive sampling method. The Experimental Group One were grade 6/4 students and Experimental Group Two were online learning Grade Six students. The research materials included the following: (1) learning management using Phenomenon-Based Learning with R-C-A questioning techniques lesson plan and sexual risk behaviors test. The statistics employed were a dependent t-test and an independent t-test in the Difference Score. The findings are as follows: (1) the Grade Six students in onsite and online learning got higher scores in terms of Phenomenon-Based Learning with R-C-A questioning techniques got higher scores for sexual risk behaviors than the score before learning that had a statistically significant difference at a level of .05; and (2) the Grade Six students in onsite and online learning got higher scores in terms of sexual risk behaviors after learning than online Grade Six students had a statistically significant difference at a level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A ที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน ของห้องเรียนออนไซต์และห้องเรียนออนไลน์ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A ที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ หลังเรียนระหว่างนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนออนไซต์กับห้องเรียนออนไลน์ กลุ่มประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 5 แผน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการวัดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ก่อนและหลังเรียนของกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มโดยใช้วิธีทางสถิติ Pair - Sample t-test และ 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการวัดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศหลังเรียนของกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มโดยใช้วิธีทางสถิติ Independent - Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนห้องเรียนออนไซต์และห้องเรียนออนไลน์ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A มีผลการวัดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศหลังเรียน สูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนห้องเรียนออนไซต์ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A มีผลการวัดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ หลังเรียน สูงกว่า นักเรียนห้องเรียนออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานth
dc.subjectเทคนิคคำถาม R-C-Ath
dc.subjectพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศth
dc.subjectPhenomenon-Based Learningen
dc.subjectR-C-A Questioning Techniquesen
dc.subjectSexual Risk Behaviorsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleTHE EFFECT OF HEALTH EDUCATION LEARNING MANAGEMENT USING PHENOMENON BASED LEARNING WITH R-C-A QUESTIONING TECHNIQUES ON SEXUAL RISK BEHAVIORS OF GRADE 6 STUDENTSen
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับเทคนิคคำถาม R-C-A ที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorThanma Laipaten
dc.contributor.coadvisorธัญมา หลายพัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorthanma@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorthanma@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Physical Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาพลศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Physical Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs611130295.pdf4.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.