Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2520
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SUPAKARN PIMPISARN | en |
dc.contributor | ศุภกาญจ์ พิมพิสาร | th |
dc.contributor.advisor | Tepika Rodsakan | en |
dc.contributor.advisor | เทพิกา รอดสการ | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-26T08:09:00Z | - |
dc.date.available | 2023-09-26T08:09:00Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 21/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2520 | - |
dc.description.abstract | The research on organ playing in a Thai ensemble in the Vajarodom Band aims to study the development of organ playing styles in a Thai ensemble, with the organ used by the Vajarodom Band, described the organ playing styles, principles of melodic variation and organ techniques in an ensemble. The results revealed that the Vajarodom Band, a Thai ensemble using an organ, was established in 2015, consisting of five founding members: Ajarn Vorapol Massaengswang, Ajarn Jaturong Jantapaso, Ajarn Thanarat Yusukcharoen, Ajarn Chaiyathat Sophrakhan, and Ajarn Udom Chumphudsa. The styles of organ playing under the guidance of Ajarn Vorapol Massaengswang can be described in two ways: using two-voice and three-voice intervals. The organ arrangement is based on a seven-step musical scale, including sharp and flat notes, because the organ can produce up to 17 tones within one octave. The musical scale is a key consideration in the arrangement process. When arranging the Thai ensemble with organ in line with the approach of the Vajarodom Band, the emphasis is placed on the musical scale. The adaptation methods included the following: (1) arrangement with respect to the musical scale and relationships between song titles; (2) arrangement considering time constraints and adjusting vocals to match the instruments for a harmonious melody; and (3) arrangement through interpretation of lyrics, song accents, and musical scales. It was discovered that the organ, with the broadest range of tones and ability to produce continuous sound, served as an instrument that fills gaps, ensuring a smooth, cohesive sound in the performance of an ensemble. To adapt the melody of the organ, musicians should thoroughly study the musical scale of the song they are going to play, as the choice of intervals and various techniques can affect the melody. A crucial aspect of organ playing is: "Use just enough fingers, cross your fingers correctly, and intertwine your fingers as needed." This principle is fundamental for organ players, who should also properly set up their fingering system. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง การบรรเลงออร์แกนในวงเครื่องสายผสมออร์แกนของวงวัชโรดม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนารูปแบบการบรรเลงออร์แกนภายในวงเครื่องสายผสมออร์แกน และอธิบายรูปแบบ หลักการแปรทำนอง เทคนิคของออร์แกนภายในวงเครื่องสายผสมออร์แกน วงวัชโรดม ผลการศึกษาพบว่า วงวัชโรดมเป็นวงเครื่องสายผสมออร์แกนที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 มีสมาชิกร่วมก่อตั้งจำนวน 5 คน ได้แก่ อาจารย์วรพล มาสแสงสว่าง อาจารย์จาตุรงค์ จันทภาโส อาจารย์ธนรัฐ อยู่สุขเจริญ อาจารย์ชัยทัต โสพระขรรค์ และอาจารย์อุดม ชุ่มพุดซา ในส่วนของรูปแบบการบรรเลงออร์แกนในแนวทางของอาจารย์วรพล มาสแสงสว่าง สามารถอธิบายได้ 2 รูปแบบ คือ การใช้คู่เสียงแบบสองเสียง และการใช้คู่เสียงแบบสามเสียง ในส่วนของการเรียบเรียงทางบรรเลงออร์แกนในวงวัชโรดม โดยใช้บันไดเสียงเป็นเกณฑ์ คือ บันไดเสียง 7 บันไดเสียง จะต้องมีการติดเสียงชาร์ป เสียงแฟล็ต เพราะ ออร์แกนมีเสียงมากถึง 17 เสียง ในหนึ่งช่วงเสียงเมื่อบรรเลงเป็นเพลงแล้วนั้นจำต้องคำนึงถึงบันไดเสียงด้วย ในส่วนของการปรับวงเครื่องสายผสมออร์แกน ตามแนวทางของวงวัชโรดม จะต้องคำนึงถึงบันไดเสียงเป็นสำคัญ ซึ่งพบรูปแบบการปรับวง ดังนี้ 1) การปรับวงโดยคำนึงถึงบันไดเสียงเป็นหลัก และความสัมพันธ์กันของชื่อเพลง 2) การปรับวงด้วยข้อจำกัดของเวลา และการปรับทางร้องให้เข้ากับทางเครื่องเพื่อลำลองร้อง 3) การปรับวงโดยการตีความจากบทร้อง สำเนียงเพลง บันไดเสียง หลักการแปรทำนองของออร์แกนภายในวงเครื่องสายผสมออร์แกนพบว่าออร์แกนจะเป็นเครื่องดนตรีที่มีช่วงเสียงกว้างมากที่สุด โดยที่ออร์แกนจะเป็นเครื่องดนตรีที่สามารถสร้างเสียงยาวต่อเนื่องได้จึงเปรียบเหมือนเครื่องดนตรีที่คอยอุดรอยรั่วของวงให้มีความต่อเนื่องกลมกลืนกัน ซึ่งในการแปรทำนองของออร์แกนผู้บรรเลงควรจะต้องศึกษาบันไดเสียงของเพลงที่จะบรรเลงให้ถี่ถ้วน เนื่องจากการเลือกใช้เสียงที่เป็นคู่เสียงตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ จะส่งผลต่อทำนองเพลงได้และสิ่งสำคัญของการใช้นิ้วของในการบรรเลงออร์แกน คือ “ควรใช้นิ้วให้พอ ทดนิ้วให้ถูก การไขว้นิ้วให้พอใช้” ที่เป็นหลักการสำคัญเลยสำหรับผู้บรรเลงออร์แกน ควรจัดระบบนิ้วให้ถูกต้องด้วย | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | ออร์แกน , การปรับวงเครื่องสายผสม , วงเครื่องสายผสมออร์แกน , การแปรทำนองของออร์แกน , เทคนิคของออร์แกน , วงวัชโรดม | th |
dc.subject | Organ Arrangement of Thai ensemble with organ Melodic variation of organ Organ techniques Vajarodom Band | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts, entertainment and recreation | en |
dc.subject.classification | Music and performing arts | en |
dc.title | ORGAN PLAYING IN THE THAI ENSEMBLE WITH ORGAN OF THE VAJARODOM BAND | en |
dc.title | การบรรเลงออร์แกนในวงเครื่องสายผสมออร์แกนของวงวัชโรดม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tepika Rodsakan | en |
dc.contributor.coadvisor | เทพิกา รอดสการ | th |
dc.contributor.emailadvisor | tepika@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | tepika@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF ARTS (M.A.) | en |
dc.description.degreename | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Faculty of Fine Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs631130528.pdf | 13.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.