Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPONGRIN KHAMSRITIPen
dc.contributorพงษ์รินทร์ คำสีทิพย์th
dc.contributor.advisorOrnuma Charoensuken
dc.contributor.advisorอรอุมา เจริญสุขth
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-09-26T08:06:11Z-
dc.date.available2023-09-26T08:06:11Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued21/7/2023
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2497-
dc.description.abstractThe objectives of this research were as follows: (1) to study the characteristics and component characteristics of new age non-formal education students; (2) to explain the causal factors affecting the characteristics of new age non-formal education students; (3) to examine the consistency of the causal model of new age nonformal education student characteristics with a growth mindset as a mediating variable developed with empirical data; and (4) to examine the functioning of the growth mindset as a mediating variable in the causal model. The target group that provides information about the meaning of characteristics, components, and causal factors included of eight informants working in the context of non-formal education and obtained by purposive sampling. This qualitative data collection used interviews. The samples for Confirmatory Factor Analysis and causal relationship model analysis were 250 and 918 non-formal students in the 2023 academic year, obtained by two-stage random sampling and quantitative data collection. The tools were a five-level rating scale, including of the characteristics assessment form of new age non-formal education students, 24 items and the factors affecting characteristics of new age non-formal education students assessment with 103 items. The qualitative data was analyzed by content analysis and the quantitative data were analyzed by descriptive statistics. The confirmatory factor analysis and causal relationship model analysis. The research findings revealed that (1) the component of characteristics of new age non-formal educational students consisted of five components, which included desire for knowledge and learning, learning ability, technology utilization ability, apply knowledge ability, and living with others ability. The causal factors consisted of six factors: learning motivation, learning self-regulation, growth mindset, teacher behavior, parental and family support, and learning from role models. The measurement of characteristics of new age non-formal educational students model created was consistent with the empirical data (χ2= 2.754, df = 2, p = 0.252, GFI = 0.996, AGFI = 0.967, RMSEA = 0.039); (2) an analysis of the causal relationship model found that the causal relationship model created was consistent with the empirical data (χ2= 147.550, df = 74, p = .000, GFI = 0.968, AGFI = 0.930, RMSEA = 0.047). All causal variables together explained the variance of the growth mindset and characteristics of modern non formal education students 62.3% and 77.6%, respectively; (3) the growth mindset had full mediation from learning motivation and parent and family support and had partial mediation from learning self-regulation and learning from role models to the characteristics of new age non-formal education students, but teacher teaching behavior had no mediational effect to the characteristics of new age non-formal education students.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาลักษณะและองค์ประกอบคุณลักษณะนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่ (2) เพื่ออธิบายปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อคุณลักษณะนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่ (3) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุคุณลักษณะนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่ที่มีกรอบความคิดเติบโตเป็นตัวแปรส่งผ่านที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ (4) เพื่อตรวจสอบการทำหน้าที่เป็นตัวแปรส่งผ่านของกรอบความคิดแบบเติบโตในโมเดลเชิงสาเหตุที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยกลุ่มเป้าหมายที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบคุณลักษณะ และปัจจัยเชิงสาเหตุ ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานในบริบทการจัดการศึกษานอกระบบ จำนวน 8 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ส่วนตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ จากนักศึกษา กศน. ปีการศึกษา 2566 จำนวน 250 คน และ 918 คน ตามลำดับ ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบวัดคุณลักษณะของนักศึกษา กศน. ยุคใหม่ จำนวน 24 ข้อ แบบวัดปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของนักศึกษาการศึกษา กศน. ยุคใหม่ จำนวน 103 ข้อ เป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณใช้การวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบคุณลักษณะนักศึกษา กศน. ยุคใหม่ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ความสนใจใฝ่เรียนรู้, ความสามารถในการเรียนรู้, ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล, ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ และความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น และปัจจัยเชิงสาเหตุ ประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ แรงจูงใจในการเรียน, การกำกับตนเองในการเรียน,กรอบความคิดแบบเติบโต, พฤติกรรมการสอนของครู, การสนับสนุนของผู้ปกครองและครอบครัว และการเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบและโมเดลการวัดคุณลักษณะนักศึกษา กศน. ยุคใหม่ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2= 2.754, df = 2, p = 0.252, GFI = 0.996, AGFI = 0.967, RMSEA = 0.039) (2) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 147.550, df = 74, p = 0.000, GFI = 0.968, AGFI = 0.930, RMSEA = 0.047) โดยตัวแปรเชิงสาเหตุทุกตัวร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของกรอบความคิดแบบเติบโตและคุณลักษณะของนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่ ได้ร้อยละ 62.3 และ 77.6 ตามลำดับ (3) กรอบความคิดแบบเติบโตมีบทบาทการส่งผ่านแบบสมบูรณ์ (full mediation) จากแรงจูงใจในการเรียน และการสนับสนุนของผู้ปกครองและครอบครัว และมีบทบาทการส่งผ่านแบบบางส่วน (partial mediation) จากการกำกับตนเองในการเรียน และการเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบไปยังคุณลักษณะนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่ส่วนพฤติกรรมการสอนของครูไม่มีการส่งผ่านไปยังคุณลักษณะนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectคุณลักษณะนักศึกษาth
dc.subjectนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่th
dc.subjectกรอบความคิดแบบเติบโตth
dc.subjectอิทธิพลส่งผ่านth
dc.subjectstudent characteristicsen
dc.subjectNew Age Non-Formal Educational Studentsen
dc.subjectGrowth mindseten
dc.subjectMediational effectsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA STUDY OF THE MEDIATIONAL EFFECTS OF GROWTH MINDSETON CHARACTERISTICS OF NEW AGE NON-FORMAL EDUCATIONAL STUDENTSen
dc.titleการศึกษาอิทธิพลส่งผ่านของกรอบความคิดแบบเติบโตที่มีต่อคุณลักษณะนักศึกษาการศึกษานอกระบบยุคใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorOrnuma Charoensuken
dc.contributor.coadvisorอรอุมา เจริญสุขth
dc.contributor.emailadvisorornuma@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorornuma@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment of Education Measurement And Research HEen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs621130207.pdf5.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.