Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2338
Title: SACRED MUSIC IN TIBETAN VAJRAYANA BUDDHISM
ความเป็นดนตรีที่ปรากฏในพุทธศาสนาวัชรยานแบบทิเบต
Authors: RUAMSAK JIEMSAK
รวมศักดิ์ เจียมศักดิ์
Surasak Jamnongsarn
สุรศักดิ์ จำนงค์สาร
Srinakharinwirot University
Surasak Jamnongsarn
สุรศักดิ์ จำนงค์สาร
surasakja@swu.ac.th
surasakja@swu.ac.th
Keywords: ดนตรี
ทิเบต
พุทธศาสนาวัชรยาน
ตันตระ
Music
Tibetan
Vajrayana Buddhism
Tantra
Issue Date:  21
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract:       This research is related to ethnomusicology. The study was qualitative research which has been collected by documentary data and fieldwork. The descriptive results aimed to study the main two objectives: (1) Vajrayana Buddhism in Thai social context had two types, namely Indian Vajrayana Buddhism, which arose in ancient kingdoms, including Dvaravati, Srivijaya, Lavapura, and Lanna, based on archaeological evidence. Indian Vajrayana Buddhism gradually declined after the Sukhothai period, due to the increased popularity of Theravada Buddhism in Thai society and culture. Tibetan Vajrayana Buddhism originated from Master Bodhi Chaeng Mahathera, a senior monk who studied Vajrayana Buddhism in Tibet. Nowadays, there are various ways to propagate and to transfer Tibetan Vajrayana Buddhism’s teaching in Thailand, particularly propagation via a Dhamma center, a literature review, and the use of information technology; and (2) in terms of the music of Tibetan Vajrayana Buddhism in Thai social context, many Tibetan musical instruments have been performed in ritual ceremonies, especially percussion instruments. Meanwhile, mantras were principally performed in melody. There were three musical types: a music ensemble, a music performance with a mantra, and a mantra without music performance.   
          งานวิจัยเรื่องนี้เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางด้านมานุษยดุริยางควิทยา ใช้วิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานภาคสนาม รายงานผลการวิจัยในเชิงพรรณนาตามจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ (1) พุทธศาสนาวัชรยานที่ปรากฏในบริบทสังคมไทย พบว่ามีสองลักษณะคือพุทธศาสนาวัชรยาน แบบอินเดียซึ่งพบตั้งแต่ในสมัยอาณาจักรโบราณ คือ ทวารดี ศรีวิชัย ละโว้ ล้านนา ดังปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี โดยภายหลังเริ่มเสื่อมสลายในสมัยสุโขทัยเป็นต้นมา เนื่องจากสังคมไทยได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์มาทดแทน และพุทธศาสนาวัชรยาน แบบทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากการที่ท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้งมหาเถระได้จาริกไปศึกษาพุทธศาสนาวัชรยานในทิเบต ปัจจุบันลักษณะการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้พุทธศาสนาวัชรยานในประเทศไทย ได้แก่ การเผยแพร่ผ่านสำนักธรรม งานวรรณกรรม และสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) ความเป็นดนตรีที่ปรากฏในพุทธศาสนาวัชรยานแบบทิเบตในบริบทสังคมไทย พบว่ามีการใช้เครื่องดนตรีทิเบตหลายชนิดในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา โดยมากเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ส่วนทำนองเกิดจากการใช้เสียงสวดมนตร์เป็นหลัก ลักษณะการบรรเลงดนตรีปรากฏสามรูปแบบ ได้แก่ การบรรเลงดนตรีรวมวง การบรรเลงดนตรีประกอบการสวดมนตร์ และการสวดมนตร์โดยไม่มีดนตรีประกอบ
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2338
Appears in Collections:Faculty of Fine Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs601150061.pdf26.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.