Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2312
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | CHANISADA NUM-ON | en |
dc.contributor | ชนิษฎา นุ่มอ่อน | th |
dc.contributor.advisor | Rungtiwa Yamrung | en |
dc.contributor.advisor | รุ่งทิวา แย้มรุ่ง | th |
dc.contributor.other | Srinakharinwirot University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-26T07:02:35Z | - |
dc.date.available | 2023-09-26T07:02:35Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 19/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2312 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to 1) compare mathematics learning achievement before and after using deductive learning with Think-Pair-Share 2) compare mathematics learning achievement after using deductive learning with Think-Pair-Share with the 70 percent criterion and 3) study attitudes towards deductive learning with Think-Pair-Share on measures of the center of Grade 12 students is a quasi- experimental design research. The population and sample group were one class, with 44 people from the Grade 12 students in the science and mathematics program at Sa-nguan Ying School, Suphanburi, in the second semester of 2022 academic year. They were randomly selected using cluster random sampling. The instruments included a lesson plan using deductive learning with Think-Pair-Share on Measures of the Center. The mathematics learning achievement test on measures of the center and the attitude toward learning management using a deductive learning with Think-Pair-Share. The research lasted 12 periods. The research used a One – Group Pretest – Posttest Design. The statistics used for data analysis include arithmetic mean and standard deviation. The hypothesis was tested using t-test for dependent samples and a t-test for One Sample statistics. The results of the research were as follows: (1) the mathematical learning achievement of grade 12 students after deductive learning with Think-Pair-Share was higher than before receiving a statistically significant learning curve at the level .01.; (2) the mathematics learning achievement of Grade 12 students after receiving a deductive learning with Think-Pair-Share higher than the 70% percent criterion with a .01 statistical significance; and (3) student attitudes towards deductive learning with Think-Pair-Share was at a high level. | en |
dc.description.abstract | บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) ศึกษาเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด เรื่อง ค่ากลางของข้อมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนสงวนหญิง ตำบลท่าพี่เลี้ยง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียน 44 คน สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด เรื่อง ค่ากลางของข้อมูล แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ค่ากลางของข้อมูล และแบบวัดเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย 12 คาบ ใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One – Group Pretest – Posttest Design วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test for Dependence Samples และ t-test for One Sample ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด สูงกว่าก่อนได้รับการจัด การเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิดอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Srinakharinwirot University | |
dc.rights | Srinakharinwirot University | |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย | th |
dc.subject | เทคนิคเพื่อนคู่คิด | th |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th |
dc.subject | เจตคติต่อการจัดการเรียนรู้ | th |
dc.subject | Learning Achievement | en |
dc.subject | Learning Management | en |
dc.subject | Deductive Learning | en |
dc.subject | Think-Pair-Share | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers with subject specialisation | en |
dc.title | EFFECT OF DEDUCTIVE LEARNING WITH THINK-PAIR-SHARE ON MATHEMATICS LEARNING ACHIEVEMENT AND ATTITUDES TOWARDS LEARNING MANAGEMENT OF MATHAYOMSUKSA SIX | en |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | ปริญญานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Rungtiwa Yamrung | en |
dc.contributor.coadvisor | รุ่งทิวา แย้มรุ่ง | th |
dc.contributor.emailadvisor | rungtiwa@swu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | rungtiwa@swu.ac.th | |
dc.description.degreename | MASTER OF EDUCATION (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | - | en |
dc.description.degreelevel | - | th |
dc.description.degreediscipline | Department Of Curriculum And Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาหลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
gs631130042.pdf | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.