Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2308
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMANANCHAYA PATTANAPRADITen
dc.contributorมนัญชยา พัฒนประดิษฐ์th
dc.contributor.advisorJantarat Phutiaren
dc.contributor.advisorจันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์th
dc.contributor.otherSrinakharinwirot Universityen
dc.date.accessioned2023-09-26T07:02:35Z-
dc.date.available2023-09-26T07:02:35Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued19/5/2023
dc.identifier.urihttp://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2308-
dc.description.abstractThe objectives of this research were as follows : (1) to study digital leadership, organizational characteristics and effectiveness among secondary school administrators; (2) to study the relationship between the digital leadership and the effectiveness of secondary schools under the authority of the Secondary Educational Service Area Office in Ratchaburi in the digital era; (3) to studey the organizational characteristics and effetivenss of secondary schools; (4) to study the effects of digital leadership and the effectiveness of secondary schools; (5) to study the effects of organizational characteristics and effectiveness of secondary schools; and (6) to study guidelines for developing effectiveness. The sample was 262 people, selected by multi-stage random sampling. The research instrument was a five-point rating schale questionnaire and analyzed with descriptive statistics, Pearson Product Moment Correlation Coeeficient and Multiple Regression Analysis-Enter Method. In the qualitative research, there were semi-structured interviews, five people were selected. The findings were as follows: (1) the effectiveness of the secondary school was at a high level. The highest average value was cooperation, learning achievement and adjustment. The lowest average value was digital citizenship and the organizational characteristics were very high. The highest average value was technology. The lowest average value was organizational structure. The level of dgital leadership was at a very high level. The highest average value branding. The lowest average value was learner engagement; (2) digital leadership was moderately related, with a statistical significance of .05.; (3) organizational characteristics and effectiveness of secondary schools were moderately related with a statistical significance of .05.; (4) organizational characteristics and the digital leadership of secondary school administrators affect effectiveness and in aspect of structure, technology, perfectional development, creating opportunity and ethics in the digital era predicted effectiveness with a statistcal signigicance of .05.; (5) guidelines for the effectiveness of secondary schools included vision, technology skills and creative thinking. The budget and related resources was consistent. The support of technoloty or educational personnel development are required. en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับของลักษณะองค์การ และระดับของประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล 2) ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล 3) ศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล 4) ศึกษาลักษณะองค์การและภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล 5) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้าราชการครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี ปีการศึกษา 2565 จำนวน 262 คน โดยกำหนดตามตารางเครจซี่มอร์แกนโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ค่าความสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และ สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบวิธีการคัดเลือกเข้า สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ศึกษานิเทศก์ และผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 5 ท่าน โดยวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง มีการจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านความร่วมมือ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้เรียน ปัจจัยลักษณะองค์การ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านเทคโนโลยี และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านโครงสร้างองค์การ และปัจจัยภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสร้างภาพลักษณ์ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความผูกพันและการเรียนรู้ของผู้เรียน 2) ปัจจัยภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล ในทางบวกระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ปัจจัยลักษณะองค์การ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล ในทางบวกระดับปานกลาง  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ปัจจัยลักษณะองค์การและปัจจัยภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล โดยปัจจัยภาวะผู้นำดิจิทัลด้านการพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ การสร้างโอกาส จริยธรรมผู้บริหารยุคดิจิทัล และปัจจัยลักษณะองค์การด้านโครงสร้างองค์การและเทคโนโลยีสามารถพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) แนวทางการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัล คือ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีวิสัยทัศน์และทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ดีขึ้น ควรมีการสนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรอย่างเพียงพอ และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและโรงเรียน นอกจากนี้การสนับสนุนให้มีผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หรือสนับสนุนให้บุคลากรพัฒนาทัษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลจะเป็นสิ่งที่ทำให้โรงเรียนสามารถพัฒนาการดำเนินงานของสถานศึกษาไปได้ และเกิดประสิทธิผลของโรงเรียนในยุคดิจิทัลได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSrinakharinwirot University
dc.rightsSrinakharinwirot University
dc.subjectภาวผู้นำดิจิทัล , ลักษณะองค์การ , ประสิทธิผลโรงเรียนยุคดิจิทัลth
dc.subjectDigital leadership Organizational characteristics Effectiveness of secondary school Digital eraen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleORGANIZATIONAL CHARACTERISTICS AND DIGITAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AFFECTING THE EFFECTIVENESS OF SECONDARY SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE RATCHABURI IN DIGITAL ERAen
dc.titleปัจจัยลักษณะองค์การและปัจจัยภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรีในยุคดิจิทัลth
dc.typeThesisen
dc.typeปริญญานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJantarat Phutiaren
dc.contributor.coadvisorจันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorjantarat@swu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorjantarat@swu.ac.th
dc.description.degreenameMASTER OF EDUCATION (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevel-en
dc.description.degreelevel-th
dc.description.degreedisciplineDepartment Of Educational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130018.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.