Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2195
Title: ONTOLOGY DEVELOPMENT FOR LIBRARY AND INFORMATION SCIENCE TAXONOMY BASED ON FACET CATEGORIZATION
การพัฒนาออนโทโลยีของอนุกรมวิธานทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์โดยใช้การจำแนกแบบฟาเซท
Authors: CHAYANON PORNPRASIT
ชญานนท์ พรประสิทธิ์
Vipakorn Vadhanasin
วิภากร วัฒนสินธุ์
Srinakharinwirot University
Vipakorn Vadhanasin
วิภากร วัฒนสินธุ์
vipakorn@swu.ac.th
vipakorn@swu.ac.th
Keywords: ออนโทโลยี
บรรณารักษศาสตร์
สารสนเทศศาสตร์
การจัดการความรู้
บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
Ontology
Library Science
Information Science
Knowledge Management
library and information science
Issue Date:  21
Publisher: Srinakharinwirot University
Abstract: The purposes of this study are as follows: (1) to develop an ontology of library and information science terminology by facet classification; and (2) to evaluate the ontology of library and information science terminology. The data were collected from search terms in library databases by selecting 320 library and information science related words. The ontology was developed by content analysis to define knowledge structures and group terms using facet classification. The knowledge was divided into 12 domains, as follows: (1) intellectual property; (2) information studies career; (3) information sources; (4) knowledge management; (5) information resources; (6) social media; (7) classification; (8) archives; (9) library tasks; (10) professional associations for librarians; (11) search tools; and (12) digital libraries. The ontology consisted of 44 main classes, 243 subclasses, four types of 11 hierarchical relationships, and 39 instances. The ontology was evaluated using a Delphi technique by nine experts to validate the classification and structure of ontology, including completeness and relationships within the structure. It was found that, on average, there was a very high level of completeness (X=4.78), a very high level of consistency (X=4.77), a high level of conciseness (X=4.44), a very high level of accuracy (X=4.84) and very high level of clarity (X=4.78).
          การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาออนโทโลยีคำศัพท์เฉพาะทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์โดยการจัดหมวดหมู่แบบฟาเซท 2) เพื่อประเมินออนโทโลยีคำศัพท์เฉพาะทางด้านทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เก็บรวบรวมข้อมูลจากคำค้นในฐานข้อมูลห้องสมุดโดยคัดเลือกเฉพาะคำที่เกี่ยวข้องจำนวน 320 คำ พัฒนาออนโทโลยีโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหากำหนดโครงสร้างความรู้และจัดกลุ่มคำโดยใช้การจำแนกแบบฟาเซท แบ่งความรู้ออกเป็น 12 หมวดความรู้ ดังนี้ 1) ทรัพย์สินทางปัญญา 2) อาชีพสาขาสารสนเทศศึกษา 3) แหล่งสารสนเทศ 4) การจัดการความรู้ 5) ทรัพยากรสารสนเทศ 6) สื่อสังคมออนไลน์ 7) การจัดหมวดหมู่ 8) จดหมายเหตุ 9) งานห้องสมุด 10) สมาคมวิชาชีพทางห้องสมุด 11) เครื่องมือสืบค้น และ 12) ห้องสมุดดิจิทัล โดยประกอบด้วยคลาสหลักจำนวน 44 คลาส คลาสย่อยจำนวน 243 คลาส ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส 4 ชนิด จำนวน 11 รายการ และข้อมูลตัวอย่างคลาสจำนวน 39 รายการ ผลการประเมินออนโทโลยีโดยใช้การประเมินแบบเดลฟายจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 9 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการจัดหมวดหมู่และโครงสร้างของออนโทโลยี รวมทั้งความครบถ้วนสมบูรณ์และความสัมพันธ์ภายในโครงสร้าง พบว่า โดยเฉลี่ยมีความครบถ้วนสมบูรณ์ในระดับมากที่สุด (X=4.78) ความสอดคล้องในระดับมากที่สุด (X=4.77) ความกระชับในระดับมาก (X=4.44) ความถูกต้องในระดับมากที่สุด (X=4.84) และความชัดเจนในระดับมากที่สุด (X=4.78)
URI: http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/2195
Appears in Collections:Faculty of Humanities

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gs631130551.pdf5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.